Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74101
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorArratee Ayuttacorn-
dc.contributor.authorLing Houngen_US
dc.date.accessioned2022-09-17T07:20:14Z-
dc.date.available2022-09-17T07:20:14Z-
dc.date.issued2022-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74101-
dc.description.abstractIndigenous territories can be seen as the last frontiers of Myanmar’s natural resources especially forested areas. Therefore, the state conservation projects and concessions are likely to enter especially into Indigenous areas and their customary land which is legitimized and justified by the law and the discourse of shifting cultivation as unproductive, and ecologically destructive. The policies targeted to eradicate shifting cultivation and to turn it into agroforestry or to regenerate into forest. Moreover, customary land tenure of indigenous groups is also considered as Vacant, Fallow and Virgin Land or Wasteland which is legally at the disposal of the government. In fact, state-led conservation schemes, as part of state land formalization or uncompleted task of unionist basis state formation in post-independence, lead to the dispossession of Indigenous peoples’ livelihood, land tenure and identity, therefore, increasing resistance by indigenous communities happen in the last decade. This study examines how the state carried out green territorialization into indigenous areas, its dispossession to Indigenous communities and Daai indigenous movement against a new proposed conservation project in Chin state, Myanmar. The research examines the creation of Aye Chaung Public Protected Forest by the state in 2002, a new proposed Public Protected Forest in 2020 and Daai communities’ resistance as a case study. To analyse this case, the concept of “green territorialization, accumulation by dispossession and new social movement are employed. A qualitative method is e applied. 10 in-depth interviews, 18 key informant interviews, and one focus group discussion were conducted. It is complemented by household survey on land use and means of livelihoods, their contribution to food security and land use of Pan Taung villagers. The analysis demonstrates that the creation of Aye Chaung Public Protected Forest (2002) by the state is characterized by lack of free, prior, inform, and consent, top down approach to conservation, dispossessing livelihood means, customary tenure and effecting indigenous identity of Pan Taung village. The imposition of regulations is likely to bring conflicts between the authorities and effected communities rather than successful conservation. As a result, Daai Indigenous communities employ collective conservation and networked approach to defend their land rights from external interventions by redefining their identity as “kho mah m’dek mah” in Daai language or “htar-nay taing yin-tar’ in Burmese or “indigenous peoples”. Daai Indigenous movement emerged along with environmental activism while re-strengthening customary land and forest management system. It is argued that Daai Indigenous network employed identity oriented conservation initiative as a tool or a way to assert their territory rights. Daai Indigenous movement is a countermovement against the state green territorialization, and re-strengthening of customary tenure system and the creation of Daai Indigenous Conserved Areas as re-territorialization project. This approach plays crucial role in the successful resisting of a new proposed Aye Chaung Public Forest in 2020. This study not only complement the previous findings but also fill the literature gaps regarding green territorialization, accumulation by dispossession and indigenous politics in Myanmar. Conservation is crucial for Indigenous communities to combat climate change and to ensure well-being of the community itself. However, top-down approach conservation in indigenous is likely to bring more conflicts rather than effective conservation. Therefore, in Indigenous territories, promoting community-based conservation, and meaningful consultation for the creation of conservation areas are essential to minimize conservation indued conflicts while promoting accountability of local communities to nature.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectGreen territorializationen_US
dc.subjectAccumulation by dispossessionen_US
dc.subjectIndigenous Politicsen_US
dc.titleGreen territorialization and indigenous politics: a case study of Aye Chaung public protected forest in Chin state, Myanmaren_US
dc.title.alternativeการสร้างดินแดนสีเขียวและการเมืองของชนพื้นเมือง: กรณีศึกษา ป่าสงวนเอชอง ในรัฐชิน ประเทศพม่าen_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddcSocial Science-
thailis.controlvocab.thashForest reserves -- Myanmar-
thailis.controlvocab.thashForests and forestry -- Myanmar-
thailis.controlvocab.thashForest conservation -- Myanmar-
thailis.controlvocab.thashIndigenous peoples -- Myanmar-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractดินแดนของชนพื้นเมืองเปรียบเสมือนปราการด่านสุดท้ายในการรักษาทรัพยากรธรรมชาติ ของประเทศเมียนมาร์โดยเฉพาะอย่างยิ่งพื้นที่ป่าไม้ ด้วยเหตุนี้ โครงการอนุรักษ์และการให้สัมปทาน ป่าไม้โดยภาครัฐมีความเป็นไปได้ที่จะรุกล้ำเข้าสู่พื้นที่ดังกล่าว เรื่อยไปจนถึงที่ดินของคนท้องถิ่นซึ่งมี การครอบครองตามจารีต ปฏิบัติการของรัฐได้รับการรับรองอย่างถูกต้องโดยกฎหมาย และใช้วาท กรรมการเกษตรแบบไร่เลื่อนลอยที่ถูกมองว่าไม่ก่อประโยชน์และเป็นการทำลายระบบนิเวศ ดังนั้น นโยบายต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากภาครัฐจึงพุ่งเป้าไปยังการล้มเลิกระบบการเกษตรแบบไร่เลื่อยลอย การ ปรับเปลี่ยนพื้นที่ให้กลายเป็นวนเกษตร และการฟื้นฟูป่าไม้ อย่างไรก็ตามการครอบครองที่ดินตาม จารีตของกลุ่มชนพื้นเมืองถูกพิจารณาว่าเป็นพื้นที่รกร้างว่างเปล่า และพื้นที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ อัน เป็นการเปิดทางให้รัฐบาลสามารถเข้าใช้ประโยชน์จากพื้นที่เหล่านี้ได้อย่างถูกต้องตามกฎหมาย ใน ความเป็นจริงแล้วแผนการอนุรักษ์โดยภาครัฐอันเป็นส่วนหนึ่งของการจัดระเบียบที่ดิน หรือการกิจที่ ยังไม่สำเร็จลุล่วงของกระบวนการสร้างรัฐภายใต้แนวคิดความเป็นสหภาพในช่วงหลังประกาศ อิสรภาพ ซึ่งเป็นการเพิกถอนสิทธิในการครอบครองที่ดิน อัตลักษณ์และวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของกลุ่ม ชนพื้นเมือง และนำไปสู่การต่อต้านจากชุมชนพื้นเมืองมากมายในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา งานศึกษาครั้งนี้เป็นการสำรวจกระบวนการเข้าครอบครองอาณาเขตสีเขียวและการเพิกถอน สิทธิในการครอบครองที่ดินของชุมชนพื้นเมืองต่าง ๆ และการเคลื่อนไหวต่อต้าน โครงการอนุรักษ์ ของกลุ่มชนพื้นเมืองดาไอ (Daai) ในรัฐชินแห่งประเทศเมียนมาร์ งานวิจัยนี้ ได้ตรวจสอบการจัดตั้งป่า สงวนเอชอง (Aye Chaung) ของภาครัฐในปีพ.ศ. 2545 และป่าสงวนแห่งใหม่ในปีพ.ศ. 2563 รวมทั้ง กรณีศึกษาการต่อต้านของชุมชนดาไอ ผู้วิจัยใช้แนวคิดการเข้าครอบครองดินแดนสีเขียว (green territorialization) การสะสมทุน โดยการเพิกถอนสิทธิ์ (accumulation by dispossession) และแนวคิด ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมรูปแบบใหม่ (new social movement) ในการวิเคราะห์ งานศึกษานี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพที่มีการดำเนินการสัมภาษณ์เชิงลึก 10 ราย การสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 18 ราย และการสนทนากลุ่มจำนวน 1 ครั้ง นอกจากนี้ยังมีการใช้แบบสำรวจการใช้ที่ดิน วิถีการดำรง ชีพ การสร้างความมั่นคงด้านอาหารและการใช้ที่ดินของชาวบ้านพานตอง (Pan Taung) การวิเคราะห์พบว่าการจัดตั้งป่าสงวนสาธารณะเอชองโดยรัฐ ไม่มีกระบวนการที่ให้อิสระ การแจ้งให้ทราบล่วงหน้าและการยินยอมจากผู้ที่ได้รับผลกระทบ ทั้งยังเป็นแผนการอนุรักษ์แบบบน ลงล่าง อันนำไปสู่การเพิกถอนสิทธิ์สำหรับวิถีการดำรงชีพและสิทธิในการครอบครองที่ดินตามจารีต ที่ส่งผลกระทบต่อไปยังอัตลักษณ์ของกลุ่มชนพื้นเมืองหมู่บ้านพานตอง การยัดเยียดกฎเกณฑ์ต่าง ๆ เป็นชนวนที่นำมาซึ่งความขัดแย้งระหว่างเจ้าหน้าที่รัฐและชุมชนต่าง ๆ ที่ได้รับผลกระทบ มากกว่า การนำไปสู่ผลสำเร็จของการอนุรักษ์ ด้วยเหตุนั้นกลุ่มชุมชนพื้นเมืองดาไอจึงตอบสนองด้วยวิธีการ อนุรักษ์แบบรวมกลุ่มและการเครือข่าย เพื่อปกป้องสิทธิในการครอบครอง ที่ดินจากการแทรกแซง ภายนอก โดยการนิยามอัตลักษณ์ของตนขึ้นมาใหม่ในนาม "กลุ่มชนพื้นเมือง (indigenous peoples) " การเคลื่อนไหวของกลุ่มชนพื้นเมืองดาไอเกิดขึ้นควบคู่ไปกับการเคลื่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อมพร้อมไป กับการปรับสร้างระบบการจัดการป่าไม้และสิทธิการครอบครองที่ดินตามจารีตให้เป็นรูปธรรมมาก ยิ่งขึ้น งานวิจัยนี้ยังพบว่าเครือข่ายกลุ่มชนพื้นถิ่นดาไอได้ใช้แบบแผนการอนุรักษ์เชิงอัตลักษณ์เพื่อ ตอกย้ำสิทธิครอบครองอาณาเขต โดยเป็นการเคลื่อนไหวโต้ตอบการเข้าครอบครองพื้นที่สีเขียวของ ภาครัฐ และเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับระบบการครอบครองที่ดินตามจารีต ตลอดจนการสร้าง พื้นที่อนุรักษ์พื้นถิ่นดาไอ (Daai Indigenous Conserved Areas) ในลักษณะการกลับมาครอบครอง พื้นที่เดิม โดยกระบวนการเหล่านี้เป็นส่วนสำคัญที่ทำให้เกิดความสำเร็จในการยับยั้งโครงการป่า สงวนเอชองในปี 2563 งานศึกษาวิจัยฉบับนี้ไม่เพียงแต่เติมเต็มข้อกันพบที่ผ่านมา แต่ยังอุดช่องว่างที่มีในวรรณกรรม อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเข้าครอบครองพื้นที่สีเขียว การสะสมทุนโดยการเพิกถอนสิทธิ์ในทรัพย์สิน และการเมืองของกลุ่มชนพื้นเมืองในประเทศเมียนมาร์อีกด้วย การอนุรักษ์ถือเป็นส่วนสำคัญยิ่ง สำหรับชุมชนพื้นเมืองในการต่อสู้และรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสร้างความ มั่นคงด้านวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของชุมชนไปในขณะเดียวกัน อย่างไรก็ตาม กระบวนการอนุรักษ์แบบ บนลงล่างในพื้นที่ดังกล่าวอาจนำมาซึ่งความขัดแย้งมากกว่าการอนุรักษ์ที่มีประสิทธิภาพ ดังนั้น ภายในดินแดนของชนพื้นเมือง การส่งเสริมการอนุรักษ์โดยชุมชน และการให้คำปรึกษาด้านการสร้าง พื้นที่อนุรักษ์จึงเป็นสิ่งจำเป็นในการลดความขัดแย้งที่อาจเกิดขึ้น และยังกระตุ้นให้เกิดความ รับผิดชอบต่อทรัพยากรธรรมชาติภายในชุมชนพื้นเมืองเหล่านั้นได้อีกประการหนึ่งด้วยen_US
Appears in Collections:SOC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630435819-Ling-Houng-watermark.pdf2.22 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.