Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74087
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรัชชุกาญจน์ ทองถาวร-
dc.contributor.authorกชนิภา มูลทุ่งen_US
dc.date.accessioned2022-09-10T03:36:16Z-
dc.date.available2022-09-10T03:36:16Z-
dc.date.issued2022-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74087-
dc.description.abstractThis independent study had three objectives were to 1) design experience learning using science activities outside classroom for early childhood children, 2) enhance early childhood children’s scientific process skills by using outside classroom science activities, and 3) study early childhood children’s learning achievement after learning through outside classroom science activities. The target group used in this study were 10 children aged between 4-6 years old, which was multi-age classroom at Pang Num Thu School, Pa Miang Sub District, Doi Saket District, Chiang Mai Province in first semester in the academic of 2022. The instrument used in this study were 1) early childhood experience learning using science activities outside classroom quality assessment, 2) early childhood children scientific process skills assessment, and 3) early childhood children achievement assessment after learning through science activities outside classroom. Data was analyzed by computing percentage then compared with set criteria of 70.00% for scientific process skills and 80.00 % for learning achievement. The data were presented through table with description. The result found that: 1. There were four units of experience learning plans using science activities outside classroom for early childhood children, which were unit 1- Enjoy rainy season, unit 2- miracle of water, unit 3- essence of colors, unit 4- Lovely tree. Each unit consisted of 5 lesson plans with the total of 20 lesson plans. Science activities outside classroom lesson plans were suitable to enhance scientific process skills of early childhood children. 2. All early childhood children who learned through science activities outside classroom earned the score of scientific process skills higher than the set criteria of 70.00 %. 3. All early childhood children who learned through science activities outside classroom earned achievement score higher than the set criteria of 80.00%.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subject-en_US
dc.titleการส่งเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย โดยการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียนen_US
dc.title.alternativePromoting scientific process skills of early childhood children through science activities outside classroomen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.controlvocab.thashการศึกษาปฐมวัย-
thailis.controlvocab.thashการศึกษาปฐมวัย -- โปรแกรมกิจกรรม-
thailis.controlvocab.thashวิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน-
thailis.controlvocab.thashวิทยาศาสตร์ -- การสอนด้วยสื่อ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อสร้างแผนการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียนสำหรับเด็กปฐมวัย 2) เพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยโดยการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน และ 3) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลัง การจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียนของเด็กปฐมวัย กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ เด็กปฐมวัยที่มีช่วงอายุ 4-6 ปี โรงเรียนบ้านปางน้ำถุ ตำบลป่าเมี่ยง อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จำนวนทั้งหมด 10 คน ซึ่งมีบริบทการจัดการเรียนการสอนแบบคละชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้ ได้แก่ 1) แบบประเมินคุณภาพแผนการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียนเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย 2) แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย และ3) แบบประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียนของเด็กปฐมวัย วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละและนำไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์การผ่านที่กำหนดคือ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ ร้อยละ 70.00 และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ ร้อยละ 80.00 และนำเสนอข้อมูลเป็นในรูปตารางประกอบการบรรยาย ผลการศึกษาพบว่า 1. ได้แผนการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียนสำหรับเด็กปฐมวัย จำนวน 4 หน่วย การเรียนรู้ ดังนี้ หน่วยที่ 1 ฤดูฝนหรรษา หน่วยที่ 2 มหัศจรรย์แห่งน้ำ หน่วยที่ 3 สาระแห่งสีสัน และหน่วยที่ 4 ต้นไม้ที่รัก หน่วยการเรียนรู้อย่างละ 5 แผน รวมแผนทั้งหมด 20 แผน ซึ่งแผนการจัด กิจกรรมวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียนสำหรับเด็กปฐมวัยทั้งหมดเป็นแผนการจัดกิจกรรมที่มีคุณภาพ สามารถส่งเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ได้อย่างเหมาะสม 2. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยหลังการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน พบว่าค่าร้อยละของคะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยกลุ่มเป้าหมายทุกคนสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดคือร้อยละ 70.00 3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้หลังการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียนสำหรับเด็กปฐมวัย พบว่าค่าร้อยละของคะแนนผลสัมฤทธิ์หลังการเรียนของเด็กปฐมวัยกลุ่มเป้าหมายทุกคนสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดคือร้อยละ 80.00en_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600232048 กชนิภา มูลทุ่ง.pdf73.38 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.