Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74079
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPimporn Leelapornpisol-
dc.contributor.advisorChidchanok Ruengorn-
dc.contributor.advisorWorrapan Poomanee-
dc.contributor.authorKawinnat Plangmalen_US
dc.date.accessioned2022-09-03T07:24:39Z-
dc.date.available2022-09-03T07:24:39Z-
dc.date.issued2022-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74079-
dc.description.abstractThis research was divided into two phases: Phase 1 was survey research. The objective of phase 1 aimed to survey knowledge on hairs and the hair dye products (the knowledge), hair dyeing behaviors and adverse reaction due to use of hair dye products among students of Rajabhat Mahasarakham University; and to study the factors contributing to knowledge and use of hair dye products. This survey collected data with online questionnaires. The subjects were 415 students of Rajabhat Mahasarakham University. Accidental sampling was employed to select the subjects during November – December 2021. The study results revealed that mean score of knowledge on hair dye products was 7.64 ± 3.11 points out of the full score of 15. The item with smallest proportion of subjects with correct answer was the concentration of paraphenylenediamine in hair dye products should not be more than 2% (42.2 % of subjects correctly answered). The most common reason for hair dyeing was aesthetic purpose. Brown was reported to be the most popular color. The desired hair color was the reason for choosing hair dye products. The most common recommendation from the producers of hair dye products being ignored by the subjects were keeping the contact time of chemicals and hair as recommended by the products (68.9%). The most common adverse effect was hair loss (52.2%). The majority of those with adverse effect sought no treatment. After the adverse effect disappeared, proportions of subjects who resumed or avoided the use of hair dye were similar (48.9% and 51.1%, respectively). Female was more knowledgeable on hairs and hair dye products and had more appropriate behavior of using hair dye compared to male (p -value <0.001 in both variables). Knowledge was significantly correlated with the use of hair dye (p -value <0.001). The study findings showed that most of the subjects had inadequate knowledge and behavior regarding hair dyeing. Additionally, they continued to use hair dye even when experiencing adverse reactions. This affected the safety in using hair dye products. Phase 2 was a randomized controlled trial. The objective was to evaluate the effect of instruction media about hair dye products toward knowledge and practice among students of Rajabhat Mahasarakham University comparing between control group and intervention group. The subjects were 60 students of Rajabhat Mahasarakham University and were divied into 2 groups. The first group was an intervention group including 30 students who received instructional media in lecturing class. The second group was known as a control group including 30 students who did not receive any instructional media in lecturing class. Research tools comprised 2 parts of instructional media and 3 parts of questionnaire: personal questionnaire, knowledge of hair dye products, behavior of hair use. The rearch period is from Decomber 2021- February 2022. The descriptive data analysis used percentage, mean and standard deviation. The differences between groups was tested using chi – square test. The mean difference of within groups was tested using Paired sample t – test. Independent sample t- test was used to test the differences between groups. The results indicated that the intervention group had a statistically significant increase mean score in the knowledge of hair dye products and behavior of hair dye use after receiving instructional media (p -value < 0.001) Follow-up 1-2 month after watching the instruction media, the mean scores of intervention group both knowledge and behavior were significantly different from pre-test. The mean scores of intervention group were significantly higher than control group in both knowledge and behavior. The study findings show that instructional media can improve knowledge about hair dye and behavior of hair dye use Hence, the instructional media could improve knowledge and behavior of hair dye use in the students of Rajabhat Mahasarakham University.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectknowledgeen_US
dc.subjectbehavioren_US
dc.subjecthair dyeen_US
dc.titleKnowledge and behavior of hair dye use in the students of Rajabhat Mahasarakham Universityen_US
dc.title.alternativeความรู้และพฤติกรรมการย้อมผมของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามen_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.lcshRajabhat Mahasarakham University -- Students-
thailis.controlvocab.lcshHair -- Dyeing and bleaching-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้แบ่งออกเป็น 2 ระยะ โดยการศึกษาระยะที่ 1 เป็นการศึกษาเชิงสำรวจ มี วัตถุประสงค์เพื่อสำรวจความรู้เกี่ยวกับเส้นผมและผลิตภัณฑ์ย้อมผม (ความรู้ฯ) และ พฤติกรรมการ ย้อมผม และอาการไม่พึงประสงค์ที่เกิดจากการใช้ผลิตภัณฑ์ย้อมผมของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม และเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความรู้และพฤติกรรมการใช้ผลิตภัณฑ์ย้อมผม เก็บข้อมูล ด้วยแบบสอบถามผ่านระบบออนไลน์ ตัวอย่างคือ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามจำนวน 415 คน การเลือกตัวอย่างใช้วิธีการสุ่มแบบบังเอิญในช่วงเดือนพฤศจิกายน -ธันวาคม พ.ศ. 2564 ผล การศึกษาพบว่า ตัวอย่างได้คะแนนเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ย้อมผม 7.64 ± 3.11 คะแนนจาก คะแนนเต็ม 15 ข้อที่ตอบถูกน้อย คือ สารพาราฟีนีลีนไดอะมีนควรมีอยู่ในผลิตภัณฑ์ย้อมผมไม่เกิน ร้อยละ 2 (ตอบถูกร้อยละ 42.2) เหตุผลส่วนใหญ่ในการย้อมผม คือ เพื่อความสวยงาม สีน้ำตาลเป็นสีที่ นิยมใช้ที่สุด สีผมที่ต้องการเป็นเหตุผลในการเลือกซื้อมากที่สุด พฤติกรรมที่ส่วนใหญ่ไม่ปฏิบัติตาม คำแนะนำของผลิตภัณฑ์ คือ การทิ้งระยะเวลาที่ให้สารเคมีสัมผัสกับเส้นผมตามคำแนะนำของ ผลิตภัณฑ์กำหนด (ร้อยละ 68.9) อาการไม่พึงประสงค์ที่พบส่วนใหญ่ คือ ผมร่วง (ร้อยละ 52.2) ส่วน ใหญ่ไม่ได้ทำการรักษา (ร้อยละ 54.4) หลังจากหายจากอาการไม่พึงประสงค์แล้ว ตัวอย่างกลับมาย้อม และไม่กลับมาย้อมในจำนวนที่ใกล้เคียงกัน (ร้อยละ 48.9 และ 51.1 ตามลำดับ) เพศหญิงมีความรู้ฯ มากกว่าเพศชายและมีพฤติกรรมการใช้ผลิตภัณฑ์ย้อมผมเหมาะสมมากกว่าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P <0.001 ทั้งสองตัวแปร) ความรู้ฯ มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้ผลิตภัณฑ์ย้อมผมที่เหมาะสม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.001) การศึกษาในระยะที่ 1 แสดงให้เห็นว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ยังมี ความรู้และพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมเกี่ยวกับการย้อมผม และยังใช้ผลิตภัณฑ์ย้อมผมแม้ว่าจะเกิด อาการไม่พึงประสงค์ ส่งผลต่อความปลอดภัยในการใช้ผลิตภัณฑ์ย้อมผม การศึกษาระยะที่ 2 เป็นการศึกษาเชิงการทดลองแบบสุ่มมีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบ คะแนนความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ย้อมผมและพฤติกรรมการใช้ผลิตภัณฑ์ย้อมผมก่อนและหลังได้รับ ความรู้จากสื่อการสอนในรูปแบบวีดิทัศน์ โดยเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่ม ควบคุม นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม จำนวน 60 ราย แบ่งออกเป็นกลุ่มทดลอง จำนวน 30 ราย ได้รับชมสื่อให้ความรู้ในรูปแบบวีดิทัศน์ และกลุ่มควบคุมจำนวน 30 ราย ที่ไม่ได้รับชมสื่อให้ ความรู้ในรูปแบบวีดิทัศน์ เครื่องมือในการศึกษาประกอบด้วย สื่อการสอนในรูปแบบวีดิทัศน์จำนวน 2 ชุด และแบบสอบถามแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ ข้อมูลส่วนบุคคล ความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ย้อมผม พฤติกรรมการย้อมผม ระยะเวลาดำเนินการวิจัยช่วงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2564 -กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ ข้อมูลเชิงพรรณนาใช้สถิติแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน ทคสอบความแตกต่างของลักษณะกลุ่มทคลองและกลุ่มเปรียบเทียบด้วย Pearson chi-square test การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยความรู้และพฤติกรรมภายในกลุ่มทดลองและกลุ่ม ควบคุม ใช้ paired sample t-test และการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยของความรู้และพฤติกรรมระหว่าง กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมใช้ Independent sample t-test ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มทดลองมีคะแนน ความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ย้อมผมและพฤติกรรมการใช้ผลิตภัณฑ์ย้อมผมเพิ่มขึ้นหลังจากได้รับความรู้ จากสื่อการสอนในรูปแบบวีดิทัศน์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.001) เมื่อเปรียบเทียบกับ กลุ่มควบคุม เมื่อติดตามผล 1-2 เดือน พบว่า กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความรู้และพฤติกรรมเพิ่มขึ้น แตกต่างกับก่อนได้รับความรู้จากสื่อการสอนในรูปแบบวีดิทัศน์และมีคะแนนเฉลี่ยมากกว่ากลุ่ม ควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.001 ทั้งสอง) ดังนั้นการให้ข้อมูลโดยใช้สื่อการสอนในรูปแบบวีดิทัศน์ดังกล่าว มีผลทำให้นักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามมีความรู้และพฤติกรรมการย้อมผมที่ดีขึ้นen_US
Appears in Collections:PHARMACY: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621031019.pdf2.36 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.