Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74073
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อาทิตย์ พวงมะลิ | - |
dc.contributor.author | หทัยชนก เพชรสนธิ์ | en_US |
dc.contributor.other | ภัทรพร สิทธิเลิศพิศาล | - |
dc.contributor.other | สมพงษ์ ศรีบุรี | - |
dc.date.accessioned | 2022-09-02T12:11:07Z | - |
dc.date.available | 2022-09-02T12:11:07Z | - |
dc.date.issued | 2022-07 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74073 | - |
dc.description.abstract | Background : Core stability exercise improves spinal stability and reduces chronic low back pain. The cause of chronic low back pain is due to the major muscles of spinal stability that lack muscle strength or decrease function. Several studies of core stability exercise used abdominal drawing-in maneuver (ADIM) and abdominal bracing (AB) exercise for studies the core muscle thickness that improved spinal stability by ultrasound imaging. However, there have been lack of research to compare ADIM and abdominal bracing exercise in functional positions (sitting and standing position). Objective : The aim of the study was to investigate thickness of transverse abdominis (TrA), internal abdominal oblique (IO) and external abdominal oblique (EO) during ADIM and abdominal bracing exercise in sitting and standing positions by ultrasound imaging. Methods : Twenty-four healthy volunteers without low back pain (12 males, 12 females) were assessed lateral abdominal muscle thickness by ultrasound imaging in sitting and standing position while perform ADIM and abdominal bracing exercise. Each position was measured 3 times, and evaluated by ImageJ program. Results : In both positions, muscle thickness during ADIM were statistically greater than abdominal bracing (p<0.05). The abdominal bracing exercise in sitting position showed statistically significant greater in muscle thickness than standing position (p<0.05), but ADIM were not different in muscle thickness between positions. Conclusion : This study shows that the ADIM and abdominal bracing may improve spinal stability in sitting and standing positions. The abdominal bracing exercise can better activate core muscles in sitting position. The ADIM can activation of core muscles in both positions, and better than abdominal bracing. Suggestion that core muscles training can be prescribed by physical therapist in clinical setting. ADIM can be a foundation exercise for core stability, and may consider abdominal bracing exercise for people who perform functional activity in sitting and standing position. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ความหนาของกล้ามเนื้อหน้าท้องด้านข้างในท่านั่งและท่ายืนขณะทำการแขม่วและเบ่งเกร็งหน้าท้องของผู้ใหญ่สุขภาพดี | en_US |
dc.title.alternative | Muscle thickness of lateral abdominal muscle in sitting and standing positions during abdominal drawing-in maneuver and abdominal bracing among healthy adults | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | กล้ามเนื้อ | - |
thailis.controlvocab.thash | กายภาพบำบัด | - |
thailis.controlvocab.thash | การออกกำลังกาย | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ที่มาและความสำคัญ : การออกกำลังกายกล้ามเนื้อแกนกลางลำตัว (core stability exercise) เป็นการออกกำลังกายที่ช่วยเพิ่มความมั่นคงของกระดูกสันหลังและช่วยบรรเทาอาการปวดหลังในผู้ป่วยปวดหลังส่วนล่างเรื้อรัง ซึ่งอาการดังกล่าวเกิดจากกล้ามเนื้อที่ทำหน้าที่หลักในการเพิ่มความมั่นคงแก่ข้อต่อขาดความแข็งแรงหรือทำงานลดลง แม้ว่ามีหลายการศึกษาได้นำการออกกำลังกาย core stability exercise แบบ abdominal drawing-in maneuver (ADIM) และ abdominal bracing มาศึกษาความหนาของกล้ามเนื้อแกนกลางลำตัวที่ช่วยเพิ่มความมั่นคงของกระดูกสันหลังด้วยเครื่องถ่ายภาพอัลตราซา-วนด์ แต่ยังขาดการศึกษาที่เปรียบเทียบการออกกำลังกายทั้ง 2 แบบนี้ให้คล้ายคลึงกับท่าทางส่วนใหญ่ในกิจวัตรประจำวันหรือกิจกรรมที่ต้องทำระหว่างวัน วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาความหนาของกล้ามเนื้อ transverse abdominis (TrA), internal abdominal oblique (IO), external abdominal oblique (EO) muscles ขณะทำการออกกำลังกายแบบ ADIM และ abdominal bracing ในท่านั่งและท่ายืน โดยใช้เครื่องถ่ายภาพอัลตราซาวนด์ในการตรวจประเมินความหนาของมัดกล้ามเนื้อ วิธีการวิจัย : อาสาสมัครที่มีสุขภาพดีและไม่มีอาการปวดหลังส่วนล่าง จำนวน 24 คน (ชาย 12 คน หญิง 12 คน) ได้รับการประเมินความหนาของกล้ามเนื้อหน้าท้องด้านข้างด้วยเครื่องถ่ายภาพ อัลตราซาวนด์ ในท่านั่งและท่ายืนขณะทำการแขม่วและเบ่งเกร็งหน้าท้อง ทั้งหมด 6 ท่า โดยแต่ละท่าทำการประเมิน 3 ครั้ง และนำมาวัดความหนาด้วยโปรแกรม ImageJ ผลการวิจัย : ในท่านั่งและท่ายืนพบว่าขณะทำ ADIM มีความหนาของกล้ามเนื้อที่มากกว่าขณะทำ abdominal bracing (p<0.05) และขณะทำ abdominal bracing ในท่านั่งพบว่ามีความหนาของกล้ามเนื้อมากกว่าท่ายืน (p<0.05) แต่ขณะทำ ADIM ความหนาของกล้ามเนื้อไม่พบว่ามีความแตกต่างกันระหว่างการทรงท่าทั้งสอง สรุปผล : ผลการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าการออกกำลังกายด้วยเทคนิค ADIM และ abdominal bracing สามารถช่วยเพิ่มความมั่นคงของลำตัวได้ทั้งในท่านั่งและท่ายืน โดยที่เทคนิค abdominal bracing สามารถกระตุ้นการทำงานของกล้ามเนื้อแกนลำตัวได้ดีในท่านั่ง แต่เทคนิค ADIM สามารถกระตุ้นการทำงานของกล้ามเนื้อแกนลำตัวได้ดีทั้งในท่านั่งและท่ายืน และเทคนิค ADIM สามารถกระตุ้นการทำงานกล้ามเนื้อแกนกลางลำตัวได้ดีกว่าเทคนิค abdominal bracing ซึ่งนักกายภาพบำบัดสามารถนำเทคนิคทั้ง 2 ไปเป็นแนวทางในการประยุกต์ใช้สำหรับฝึกการทำงานของกล้ามเนื้อแกนกลางลำตัวในทางคลินิกได้ โดยอาจแนะนำเทคนิค ADIM สำหรับเป็นการออกกำลังกายหลัก และอาจพิจารณาเสริมเทคนิค abdominal bracing ในกลุ่มผู้คนที่มีกิจกรรมระหว่างวันในท่านั่งและท่ายืน | en_US |
Appears in Collections: | AMS: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesis_HathaichanokFinal.pdf | 1.04 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.