Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74045
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPimluck Kijjanapanich-
dc.contributor.advisorYothin Chimupala-
dc.contributor.authorNorapat Pratinthongen_US
dc.date.accessioned2022-09-01T16:36:29Z-
dc.date.available2022-09-01T16:36:29Z-
dc.date.issued2021-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74045-
dc.description.abstractThe research was studied the optimum conditions for sulfate removal from lignite coal mine drainage in Thailand by ettringite precipitation using Central Composite Design (CCD). The effects of Ca/S and Al/S ratio (mole basis) and reaction time on the sulfate removal efficiency were investigated. The full factorial statistical analysis showed that the Al/'S ratio and reaction time had a significant effect on sulfate removal efficiency, which the sulfate removal efficiency increases when Al/S ratio and reaction time are increased. The Ca/S ratio in the range of 1-7 had been found no significant effect on sulfate removal efficiency. The optimal reaction time obtain from the predicted equation from CCD was equal to 6.14 h, while CalS and Al/S ratio were fixed at 4 and 4.5, respectively, at ambient temperature. At the optimum condition, the sulfate removal of 99.6 and 99.0% were achieved from Lamphun and Lampang mine drainage, respectively, which is very close to the predicted value (100%). The research also found that, sulfate removal efficiency reduces from 99.6% to 64.2%, when sodium aluminate was used as aluminium source. The increasing of speed and time of rapidly stirring were not significantly effect on sulfate removal efficiency.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleSulfate removal from mine drainage by Ettringite precipitationen_US
dc.title.alternativeการกำจัดซัลเฟตจากน้ำระบายเหมืองแร่โดยการตกตะกอนเอททริงไกต์en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshSulfates-
thailis.controlvocab.lcshMines and mineral resources-
thailis.controlvocab.lcshCoal mines and mining-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้ศึกษาสภาวะที่เหมาะสมสำหรับการกำจัดซัลเฟตในน้ำระบายเหมืองแร่ถ่านหิน ลิกไนด์ของประเทศไทยด้วยการตกตะกอนเอททริงไกต์ โดยใช้ Central Composite Design (CCD) และทำการศึกษาผลของอัตราส่วนโดยโมลของแคลเซียมต่อซัลเฟต และอะลูมิเนียมต่อซัลเฟต และ ระยะเวลาในการทำปฏิกริยาต่อประสิทธิภาพการกำจัดซัลเฟตในน้ำระบายเหมืองแร่ จากการวิเคราะห์ ข้อมูลทางสถิติ โดย full factorial analysis พบว่าอัตราส่วน โดยโมลของอะลูมิเนียมต่อซัลเฟต และ ระยะเวลาในการทำปฏิกิริยาเป็นปัจจัยหลักที่มีผลต่อประภาพการกำจัดซัลเฟต โดยประสิทธิภาพการ กำจัดซัลเฟตมีค่าเพิ่มสูงขึ้น เมื่ออัตราส่วนโดยโมลของอะดูมิเนียมต่อซัลเฟต และระยะเวลาในการทำ ปฏิกิริยามีค่าเพิ่มมากขึ้น ส่วนอัตราส่วน โดยโมลของแคลเซียมต่อซัลเฟต ในช่วง 1-7 พบว่าไม่มีผล อย่างมีนัยยะสำคัญต่อประสิทธิภาพการกำจัดซัลเฟตจากที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 จากการ วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ โดย CCD พบว่าสภาวะที่เหมาะสมเพื่อให้ได้ประสิทธิภาพการกำจัดซัลเฟ ตสูงสุดที่หาได้จากสมการทำนาย คือ ระยะเวลาในการทำปฏิกิริยาเท่ากับ 6.14 ชั่วโมง โดยให้ อัตราส่วน โดยโมลของแคลเซียมต่อซัลเฟต และอะลูมิเนียมต่อซัลเฟต มีค่าเท่ากับ 4 และ 4.5 ตามลำดับ ที่อุณหภูมิห้อง จากการทดลองพบว่าที่สภาวะที่เหมาะสมนี้มีคำการกำจัดซัลเฟตอยู่ที่ร้อย ละ 99.6 และ 99.0% สำหรับน้ำระบายเหมืองแร่ของจังหวัดลำพูนและจังหวัดลำปาง ตามลำดับ ซึ่ง ใกล้เคียงกับค่าที่คำนวณจากสมการทำนายมาก (100%) นอกจากนี้งานวิจัยยัง พบว่าการใช้โซเดียม อะลูมิเนตเป็นแหล่งอะลูมิเนียมทำให้ประสิทธิภาพในการกำจัดซัลเฟตลดลงจาก 99.6 เป็น 64.2% การ เพิ่มความเร็วรอบในการกวนของใบพัด และระยะเวลาในการกวนเร็วไม่ส่งผลอย่างมีนัยยะสำคัญต่อ ประสิทธิภาพการกำจัดซัลเฟตen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610631029 นรภัทร ประทินทอง.pdf2.04 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.