Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74043
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรลัญจก์ บุณญสุรัตน์-
dc.contributor.authorสิทธิศักดิ์ คำภูen_US
dc.date.accessioned2022-09-01T16:28:46Z-
dc.date.available2022-09-01T16:28:46Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74043-
dc.description.abstractThe study of Conservation and Continuation of Nongdoo Mon Community's Honey Offering Tradition to the Monks, Ban Reun Sub District, Pasang District, Lamphun province has the objectives of study about the context of history, society, and culture of the Mons people in Thailand including social and cultural of Nongdoo Mon Community and Tak Bart Nam Pueng tradition and issues of the tradition for present about how to conservation and continuation of Nongdoo Mon Community's Honey Offering Tradition to the Monks, Ban Reun Sub District, Pasang District, Lamphun Province. Results of the study revealed, Mons is ethnicities with Mongoloid descent. That ethnic group avacuate from South Myanmar to Thailand. The reason to avacuate is prisoner of war, draft And oppression from Myanmar. Mons have many identity such as Mon language, dress in Mon style and Mon's activities. Nongdoo Mon community in Lamphun has a long history about 300 years ago. This ethnic group evacuated from Myanmar to Nongdoo Village. Nongdoo Mon Community adjust to the local culture so which different other Mons in Thailand. Especially, Honey Offering Tradition to the Monks which is indicates overall identity of Mon. Every 15th day of the waxing moon on the 10th lunar month, Mon people will bring honey from home to temple for offering to the monks. After that, The monks bless for people and take honey to be an ingredient for making herbal medicine. So, Mon assume that Honey Ofiering Tradition is the same as giving medicine to the monks. In the present, culture shock and social change is important issue. So, the result is trend of Mon tradition in Nongdoo community is decrease successor and Mon tradition getting lost in the future. The tradition necessary conservation and continuation to remain and added value of economic.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectประเพณีตักบาตรน้ำผึ้งen_US
dc.titleการอนุรักษ์และสืบสานประเพณีตักบาตรน้ำผึ้งชุมชนมอญ บ้านหนองดู่ ตำบลบ้านเรือน อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูนen_US
dc.title.alternativeConservation and continuation of Nongdoo Mon Community’s Honey Offering Tradition to the monks, Ban Reun Sub District, Pasang District, Lamphun Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการตักบาตร-
thailis.controlvocab.thashกลุ่มชาติพันธุ์ -- ลำพูน-
thailis.controlvocab.thashมอญ -- ความเป็นอยู่และประเพณี-
thailis.controlvocab.thashลำพูน -- ความเป็นอยู่และประเพณี-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบริบททั้งในทางประวัติศาสตร์ สังคมและวัฒนธรรมของ ชนชาติมอญในประเทศไทยโดยทั่วไป และศึกษาบริบทของชุมชน สังคมและวัฒนธรรมบ้านหนองดู่ รวมทั้งศึกษาความเชื่อและประเพณีตักบาตรน้ำผึ้ง ตลอดจนสภาพปัญหาของประเพณีตักบาตรน้ำผึ้งที่ ชุมชนมอญบ้านหนองดู่ ตำบลบ้านเรือน อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน เพื่อเสนอแนวทางการอนุรักษ์ และสืบสานประเพณีดักบาตรน้ำผึ้งของชุมชนมอญบ้านหนองดู่ ตำบลบ้านเรือน อำเภอป่าซาง จังหวัด ลำพูน ผลการศึกษา พบว่า "มอญ" เป็นชาติพันธุ์ที่มีเชื้อสาย มองโกลอยด์ (Mongoloid) เดิมตั้งถิ่นฐาน อยู่บริเวณประเทศพม่าตอนใต้ โดยมีการอพยพมาขังประเทศไทย จากสาเหตุใหญ่ 3 ประการ คือ ประการแรกถูกกวาดต้อนเป็นเชลยสงคราม ประการที่สองหลบหนีการถูกพม่าเกณฑ์ไปทำสงคราม และประการที่สามการถูกกดขี่ข่มเหงจากการตกเป็นเมืองขึ้นของพม่า โดยชาวมอญมีขนบธรรมเนียม วิถีปฏิบัติทางวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ เช่น มีภาษาพูด ภาษาเขียน เครื่องแต่งกาย อาหาร เป็นต้น มักตั้งถิ่นฐานอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำ มีการประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นอาชีพหลัก มีการนับถือ พระพุทธศาสนา ที่แฝงด้วยคติความเชื่อในการนับถือผี มีความสัมพันธ์แบบเครือญาติเรียบง่าย ชุมชน มอญบ้านหนองคู่ถือเป็นชุมชนมอญที่ยังคงมีการปฏิบัติตามวิถีวัฒนธรรมแบบมอญอย่างชัดเจน เป็นชุมชนที่มีการอพยพมาจากเมืองมอญในประเทศพม่า ประมาณ 300 ปีที่ผ่านมามีการปรับตัว ให้เข้ากับวัฒนธรรมท้องถิ่นจึงทำให้มีความแดกด่างจากชุมชนมอญอื่นๆ ในประเทศไทย โดยเฉพาะ อย่างยิ่งประเพณีตักบาตรน้ำผึ้งซึ่งเป็นประเพณีที่จัดขึ้นในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 10 ไทย เป็นประเพณี ที่แสดงอัตลักษณ์ความเป็นมอญของชุมชนบ้านหนองดู่อย่างชัดเจน โดยชาวมอญเชื่อว่าการตักบาตร น้ำผึ้งเสมือนเป็นการถวายยารักษาโรคแก่พระสงฆ์ จากกระแสการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและ วัฒนธรรมในปัจจุบัน ส่งผลให้คนในชุมชนไม่เข้าใจถึงคุณค่าความสำคัญของประเพณีตักบาตรน้ำผึ้ง ทำให้กลุ่มผู้สืบทอด วัฒนธรรมมอญในชุมชนได้มีจำนวนลดลง จำเป็นต้องได้รับการอนุรักษ์และ สืบสานเพื่อให้เกิดการตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญ และนำทุนทางวัฒนธรรมในชุมชนมาสร้าง มูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจของชุมชนอย่างยั่งยืนen_US
Appears in Collections:FINEARTS: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610332011 สิทธิศักดิ์ คำภู.pdf3.63 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.