Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74029
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเอื้อบุญ เอกะสิงห์-
dc.contributor.authorระพีพรรณ อินทะรนen_US
dc.date.accessioned2022-08-29T16:04:03Z-
dc.date.available2022-08-29T16:04:03Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74029-
dc.description.abstractThis independent study aimed to examine impact of mandatory nonfinancial disclosure and assurance on investor judgments. This experiment research employed 2 x 2 + 1 mixed design method to study impacts of 2 independent variables i.e. 1) types of nonfinancial disclosure: Voluntary Disclosed and Mandatory Disclosed; and 2) types of nonfinancial data assurance: Voluntary Assured and Mandatory Assured along with 1 controlled group: Not Disclosed and Not Assured. This study were conducted under 5 conditions in total. Investor judgments were measured from investment intention and confidence in information provided in the report. Samples of this study consisted of 150 graduate students of the master's degree in Business Administration and Accounting program and the 4" year undergraduate students of the Faculty of Business Administration, Chiang Mai University. Questionnaires were used as the tool to collect data. One student would take a set of questionnaires for one condition. The questionnaires were distributed randomly to the respondents. Data obtained were analyzed by the descriptive statistics: frequency, percentage, and mean; and the inferential statistics: One-Way ANOVA. Then, the Post Hoc Multiple Comparisons was applied in order to compare the differences of mean values in pair. Results of the study showed that in terms of investment intention, the respondents intended to invest in an entity under each condition differently at statistical significance; but their highest level of investment intention was for an entity with voluntary disclosed and voluntary assured. In comparing to other conditions, the respondents under the condition of being ready for investment would rather invest in an entity with voluntary disclosed and voluntary assured. However, in comparing to other conditions, the respondents had the least intention to invest in an entity with the condition of mandatory disclosed and mandatory assured. In terms of confidence in information provided in the report, the respondents had different levels of confidence in information provided in the report at statistical significance; but their highest level of confidence was for an entity with mandatory disclosed and voluntary assured. However, they had the least confidence in information provided in the report of an entity with mandatory disclosed and mandatory assured. The findings suggested that to force an entity to take mandatory disclosed and mandatory assured would cause more negative effects on investor judgment than to allow an entity to take voluntary disclosed and voluntary assured.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลกระทบของการบังคับให้เปิดเผยและให้ความเชื่อมั่นต่อข้อมูลที่ไม่ใช่ข้อมูลทางการเงิน ที่มีต่อการตัดสินใจของนักลงทุนen_US
dc.title.alternativeImpact of mandatory nonfinancial disclosure and assurance on investor judgmentsen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการเปิดเผยข้อมูล-
thailis.controlvocab.thashการลงทุน-
thailis.controlvocab.thashนักลงทุน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาผลกระทบของการบังคับให้กิจการเปิดเผย และให้ความเชื่อมั่นต่อข้อมูลที่ไม่ใช่ข้อมูลทางการเงิน ที่มีต่อการตัดสินใจของนักลงทุน ซึ่งเป็น การศึกษาเชิงทดลอง (Experimental research) ผู้ศึกษาออกแบบ รูปแบบในการทดลองเป็นแบบ 2 x 2 +1 ทำการศึกษาถึงผลกระทบของตัวแปรอิสระ 2 ตัวแปร คือ 1) ประเภทของการเปิดเผยข้อมูล ที่ไม่ใช่ข้อมูลทางการเงิน ประกอบด้วย การเปิดเผยข้อมูลที่ไม่ใช่ข้อมูลทางเงิน โดยสมัครใจ (Voluntary Disclosed) และการเปิดเผยข้อมูลที่ไม่ใช่ข้อมูลทางเงินโดยการถูกบังคับ (Mandatory Disclosed) และ 2) ประเภทของการให้ความเชื่อมั่นต่อข้อมูลที่ไม่ใช่ข้อมูลทางการเงิน ประกอบด้วย การให้ความเชื่อมั่นต่อข้อมูลที่ไม่ใช่ข้อมูลทางการเงิน โดยสมัครใจ (Voluntary Assured) และการ ให้ความเชื่อมั่นต่อข้อมูลที่ไม่ใช่ข้อมูลทางการเงินโดยการถูกบังคับ (Mandaiory Assured) และอีก 1 กลุ่มควบคุม คือไม่มีการเปิดเผยข้อมูลที่ไม่ใช้ข้อมูลทางการเงิน และไม่มีการให้ความเชื่อมั่น (Not Disclosed and Not Assured) มีทั้งหมด 5 เงื่อนไข โดยการตัดสินใจของนักลงทุนวัดจาก ความตั้งใจ ลงทุน และความเชื่อมั่นต่อข้อมูลในรายงาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วยนักศึกษา ปริญญาโทสาขาบริหารธุรกิจและการบัญชี และนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 4 คณะ บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จำนวน 150 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) โดยนักศึกษา 1 คน จะได้รับแบบสอบถามซึ่งมี 1 เงื่อนไข (Condition) เท่านั้น การแจกแบบสอบถาม ใช้วิธีการสุ่ม (Random) และนำข้อมูลมาวิเคราะห์ โดยใช้สถิดิเชิงพร รณนา (Descriptive Statistics) ประกอบด้วย ความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) และค่าเฉลี่ย (Mean) และวิเคราะห์โดยใช้ สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) ได้แก่ One-Way ANOVA แล้วนำมาวิเคราะห์ด้วย Post Hoc Multiple Comparisons เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ ผลการศึกษาพบว่า ด้านความตั้งใจลงทุน ผู้ตอบแบบสอบถามมีความตั้งใจลงทุนใน กิจการของแต่ละเงื่อนไข แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยผู้ตอบแบบสอบถาม มีความ ตั้งใจลงทุนในกิจการ มากที่สุด ในกิจการที่มีการเปิดเผยข้อมูลที่ไม่ใช่ข้อมูลทางการเงินด้วยความ สมัครใจ และสมัครใจให้มีการให้ความเชื่อมั่น (Voluntary Disclosed/Voluntary Assured) และหาก มีความพร้อมในการลงทุน ผู้ตอบแบบสอบถามมีความตั้งใจที่จะลงทุนในกิจการที่มีการเปิดเผย ข้อมูลที่ไม่ใช่ช้อมูลทางการเงินด้วยความสมัครใจ และสมัครใจให้มีการให้ความเชื่อมั่น (Voluntary Disclosed/ Voluntary Assured) ม่ากกว่าเงื่อนไขอื่น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และหากมีการบังคับ ให้กิจการเปิดเผยข้อมูลที่ไม่ใช่ข้อมูลทางการเงิน และบังคับให้มีการให้ความเชื่อมั่น (Mandatory Disclosed/Mandatory Assured) ผู้ตอบแบบสอบถามมีความตั้งใจที่จะลงทุนในเงื่อนไขนี้ น้อยที่สุด ด้านความเชื่อมั่นต่อข้อมูลในรายงาน พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความเชื่อมั่นต่อ ข้อมูลในรายงานของกิจการ แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ซึ่งผู้ตอบแบบสอบถาม มีความ เชื่อมั่นต่อข้อมูลในรายงานที่ได้รับ มากที่สุด ในกิจการที่มีการเปิดเผยข้อมูลที่ไม่ใช่ข้อมูลทาง การเงินโดยการถูกบังคับ แต่สมัครใจให้มีการให้ความเชื่อมั่น (Mandatory Disclosee/ Voluntary Assured) แต่ถ้าหากมีการบังคับให้กิจการเปิดเผยข้อมูลที่ไม่ใช่ข้อมูลทางการเงิน และบังคับให้มีการ ให้ความเชื่อมั่น (Mandatory Disclosed/Mandatory Assured) ผู้ตอบแบบสอบถามมีความเชื่อมั่นต่อ ข้อมูลในรายงานที่ได้รับ น้อยที่สุด จากผลการศึกษา หากบังคับให้กิจการเปิดเผยข้อมูลที่ไม่ใช่ข้อมูลทางการเงินและ บังคับให้มีการให้ความเชื่อมั่นต่อข้อมูลดังกล่าว จะส่งผลทางด้านลบต่อการตัดสินใจของนักลงทุน มากกว่าการที่กิจการสมัครใจเปิดเผยข้อมูลที่ไม่ใช่ข้อมูลทางการเงิน และสมัครใจให้มีการให้ความ เชื่อมั่นต่อข้อมูลนั้นen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
601532192 ระพีพรรณ อินทะรน.pdf3.44 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.