Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74015
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สืบศักดิ์ แสนยาเกียรติคุณ | - |
dc.contributor.advisor | วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ | - |
dc.contributor.author | อาณัฐพล ชัยศรี | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-08-29T15:29:59Z | - |
dc.date.available | 2022-08-29T15:29:59Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74015 | - |
dc.description.abstract | This study aimed to study the history, history, and geographical characteristics of Doi Luang and Chiang Dao Cave. Chiang Dao district Chiang Mai province as well as beliefs myths about Chao Luang Kham Daeng related to Doi Luang. and Chiang Dao Cave study the history social and cultural characteristics of Ban Tham community including studying learning resources and cultural tourism as well as the condition of the Chiang Dao Cave, Chiang Dao district, Chiang Mai province to propose a model and management method to optimize the sacred brotherhood of Chiang Dao and Doi Luang Chiang Dao Caves as leamning and cultural tourism centers The sample used in this study is a learning center in a sacred area. Chiang Dao Cave travel group people at Ban Tham, Chiang Dao sub-district, Chiang Dao district Chiang Mai province by studying both the documentary and the field The data was collected using physical surveys. And structured interviews to obtain information about the history of the community. From the sample obtained by the purposive sampling method. The results of the study of the sacred areas of Chiang Dao Cave and Doi Luang it was found that Wat Tham Chiang Dao is a place of cultural significance for the Lanna people. Is the area of belief in Chao Kham Daeng located in a natural source, Doi Luang Chiang Dao. And is an important tourist area of Chiang Mai city by villagers of Ban Tham community Is a participant in the management of Chiang Dao Cave and manage it according to the capacity and capability of the community but still lacking knowledge on enhancement to become a learning center and cultural tourism and has a valuable cultural heritage should be developed as a learning center and cultural tourism. That reflects the heritage, culture and value of the sacred areas, Chiang Dao Cave and Doi Luang for the benefit of being a learning center and cultural tourism. But still lacking support from the government and local authorities, therefore, it proposes a model for the management of learning sites, sacred areas, Chiang Dao Cave and Doi Luang. Through the process of community participation and the preservation of the value of the sacred area. Manage cultural tourism routes, sacred areas, Chiang Dao Cave and Doi Luang. Which is an extension of learning resources to increase economic value and benefit the community | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การจัดการพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ถ้ำเชียงดาวและดอยหลวงเชียงดาว ให้เป็นแหล่งเรียนรู้และท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม | en_US |
dc.title.alternative | Management of Chiang Dao Sacred Cave and Doi Luang Chiang Dao for learning resources and cultural tourism | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | ถ้ำเชียงดาว | - |
thailis.controlvocab.thash | ดอยหลวงเชียงดาว | - |
thailis.controlvocab.thash | เชียงดาว (เชียงใหม่) -- ภูมิประเทศและการท่องเที่ยว | - |
thailis.controlvocab.thash | เชียงใหม่ -- ภูมิประเทศและการท่องเที่ยว | - |
thailis.controlvocab.thash | การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม -- เชียงดาว (เชียงใหม่) | - |
thailis.controlvocab.thash | การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ -- เชียงดาว (เชียงใหม่) | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตฤประสงค์เพื่อศึกษาประวัติศาสตร์ ความเป็นมา และลักษณะทาง ภูมิศาสตร์ของดอยหลวงและถ้ำเชียงดาว อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ ตลอดจนคดิความเชื่อ ตำนานที่กี่ยวกับเจ้าหลวงคำแดงซึ่งเกี่ยวข้องกับดอยหลวง และถ้ำเชียงดาว ศึกษาประวัติความเป็นมา ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมของชุมชนบ้านถ้ำ รวมทั้งศึกษาแหล่งเรียนรู้และท่องเที่ยวเชิง วัฒนธรรม ตลอดจนสภาพปัญหาของถ้ำชียงดาว อำภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อเสนอรูปแบบ และวิธีการจัดการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ของถ้ำเชียงดาวและดอยหลวงเชียงดาวให้เป็น แหล่งเรียนรู้และท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ แหล่งเรียนรู้ในพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ กลุ่มท่องเที่ยวถ้ำเชียง ดาว ประชาชนบ้านถ้ำ ตำบลเชียงดาว อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ โดยศึกษาทั้งภาคเอกสารและ ภาคสนาม ทำการเก็บข้อมูลด้วยวิธีการสำรวจทางกายภาพ และการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง (Structured Interview) เพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับประวัติาสตร์ความเป็นมาของชุมชน จากกลุ่มตัวอย่าง (Sample) ซึ่งได้มาด้วยวิธีสุ่มแบบจงใจ (Purposive Sampling) ผลการศึกษาพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ถ้ำเชียงดาวและดอยหลวง พบว่าวัดถ้ำเชียงดาวมีเป็นสถานที่ที่มี ความสำคัญทางด้านวัฒนธรรมของคนล้านนาเป็นพื้นที่ของความเชื่อเรื่องเจ้าหลวงคำแดง ตั้งอยู่ในแหล่ง ธรรมชาติดอยหลวงเชียงดาว และเป็นพื้นที่ท่องเที่ยวสำคัญของเมืองเชียงใหม่ โดยชาวชุมชนบ้านถ้ำ เป็นผู้มี ส่วนร่วมในการบริหารจัดการถ้ำเชียงดาว และบริหารจัดการตามกำลังและความสามารถของชุมชน แต่ยัง ขาดองค์ความรู้ด้านการเพิ่มประสิทธิภาพเพื่อให้เป็นแหล่งเรียนรู้และท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และมีมรดก วัฒนธรรมที่มีคุณค่า ควรได้รับการพัฒนาให้เป็นแหล่งเรียนรู้และท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ที่สะท้อนถึงมรดก วัฒนธรรมและคุณค่าของพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ถ้ำเชียงดาวและดอยหลวง เพื่อเป็นประโยชน์ของการเป็นแหล่ง เรียนรู้และท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม แด่ยังขาดการสนับสนุนจากภาครัฐและหน่วยงานในท้องถิ่น ดังนั้นจึง เสนอรูปแบบการการจัดการแหล่งเรีนรู้พื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ถ้ำเชียงดาวและดอยหลวง ด้วยกระบวนการมี ส่วนร่วมของชุมชนและการรักษาคุณค่าของพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ จัดการเส้นทางท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม พื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ถ้ำเชียงดาวและดอยหลวง ที่เป็นการต่อยอดแหล่งเรียนรู้ ให้เพิ่มพูนมูลค่าทางเศรษฐกิจ และเป็นประโยชน์ต่อชุมชน | en_US |
Appears in Collections: | FINEARTS: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
600332004 อาณัฐพล ชัยศรี.pdf | 24.48 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.