Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73973
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรัชชุกาญจน์ ทองถาวร-
dc.contributor.authorพิชญานิน อินทโสตถิen_US
dc.date.accessioned2022-08-20T08:14:48Z-
dc.date.available2022-08-20T08:14:48Z-
dc.date.issued2022-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73973-
dc.description.abstractThis independent study was aimed 1) to study the condition of the teachers’ experiential learning provision to enhance early childhood children’s life skills under the Lampang Primary Education Service Area Office 1 and 2) to study the problems and needs of the teachers’ experiential learning provision to enhance early childhood children’s life skills under the Lampang Primary Education Service Area Office 1. The population comprised 153 kindergarten years 1–3 teachers under the Lampang Primary Education Service Area Office 1. The instrument used for data collection was a questionnaire of the teachers’ experiential learning provision to enhance early childhood children’s life skills under the Lampang Primary Education Service Area Office 1. The data were analyzed by computing frequencies, means, standard deviations and percentages. Data were presented through tables with descriptions. The result found that: 1. The condition of the teachers’ experiential learning provision to enhance early childhood children’s life skills under the Lampang Primary Education Service Area Office 1 all five aspects overall were at the most level. When considering in detail found the organizing experiential learning provision and activities aspect and the assessing aspect at the most level. In addition, the organizing experiential learning provision and activities aspect found that teachers organized experiential learning provision to enhance early childhood children’s life skills at the most level of 5 skills; Self-awareness, empathy, creative thinking, effective communication, and coping with emotion. 2. Regarding problems and needs of the teachers’ experiential learning provision to enhance early childhood children’s life skills under the Lampang Primary Education Service Area Office 1; most teachers had problems in organizing the environment, buildings, and learning resources and problems in the preparation, procurement and use of media and equipment from the most to the least showed as follow. Teachers, therefore, need to be allocated to support the budget for the preparation, procurement and use of media and equipment. Including the need for the environment, building, and learning resources to be diverse, suitable, safe and conducive to learning.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ในการส่งเสริมทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัย ของครูผู้สอนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาลำปาง เขต 1en_US
dc.title.alternativeTeachers’ experiential learning provision to enhance early childhood children’s life skills under the Lampang Primary Education Service Area Office 1en_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการเรียนแบบมีส่วนร่วม-
thailis.controlvocab.thashการเรียนรู้แบบประสบการณ์-
thailis.controlvocab.thashทักษะชีวิต-
thailis.controlvocab.thashการศึกษาปฐมวัย-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าอิสระครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ในการส่งเสริมทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัยของครูผู้สอนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปางเขต 1 และ 2) เพื่อศึกษาปัญหา และความต้องการการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ในการส่งเสริมทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัยของครูผู้สอนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปางเขต 1 ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ครูปฐมวัย หรือครูที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่สอนระดับชั้นอนุบาลปีที่ 1 – 3 จำนวน 153 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของครูในการส่งเสริมทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัย โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปางเขต 1 จำนวน 1 ชุด วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าร้อยละ นำเสนอข้อมูลในรูปแบบตารางประกอบคำบรรยาย และวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับปัญหา และความต้องการของครูในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ในการส่งเสริมทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัย โดยใช้การจัดกลุ่มบรรยายและพรรณนาวิเคราะห์ ผลการศึกษาพบว่า 1. สภาพการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ในการส่งเสริมทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัยของครูผู้สอนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปางเขต 1 ทั้ง 5 ด้าน โดยภาพรวมอยู่ในระดับ มากที่สุด เมื่อพิจารณาในรายละเอียดพบว่า ด้านการจัดประสบการณ์และกิจกรรม และ ด้านการวัดและประเมินผล มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมากที่สุด นอกจากนี้ ด้านการจัดประสบการณ์และกิจกรรม พบว่าครูผู้สอนมีการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ในการส่งเสริมทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัย ที่มีการปฏิบัติอยู่ในระดับ มากที่สุด จำนวน 5 ทักษะ ได้แก่ ทักษะการตระหนักรู้ในตน ทักษะการเข้าใจผู้อื่น ทักษะการคิดสร้างสรรค์ ทักษะ การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ และทักษะการจัดการกับอารมณ์ 2. ปัญหา และความต้องการในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ในการส่งเสริมทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัยของครูผู้สอนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1 ครูผู้สอนส่วนใหญ่ มีปัญหาด้านการจัดสภาพแวดล้อม อาคารสถานที่ และแหล่งเรียนรู้ รองลงมาคือปัญหาด้านการจัดทำ จัดหา และการใช้สื่อและวัสดุอุปกรณ์ ครูจึงมีความต้องการได้รับการสนับสนุนงบประมาณ ด้านการจัดทำ จัดหา และการใช้สื่อและวัสดุอุปกรณ์ รวมถึงความต้องการด้านการจัดสภาพแวดล้อม อาคารสถานที่ และแหล่งเรียนรู้ให้หลากหลาย เหมาะสม ปลอดภัย และเอื้อต่อ การเรียนรู้en_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.