Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73967
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณัฐวุฒิ อรินทร์-
dc.contributor.authorกรรณิการ์ อินเพลาen_US
dc.date.accessioned2022-08-20T07:22:04Z-
dc.date.available2022-08-20T07:22:04Z-
dc.date.issued2022-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73967-
dc.description.abstractThis qualitative research aimed to examine protective factors for non-reoffending among juveniles who convicted of criminal offenses within a year using the case study method. Data from 8 people were collected the in-depth interviews and were analyzed using the content analysis method. The study revealed mainly two results. Firstly, there are six topics of inner-protective factors, including 1) Self-knowing and self-control 2) Growing mind 3) Sympathy 4) Accept flaws and try to work on them 5) Strive for goals and life's dreams and 6) The spirit will not give up. To discuss, juveniles who aware of emotional and cognitive states are mindfully careful even if they find themself in risk situations for committing crime again. In addition, they decided on the best strategies to solve the problem by applying various methods, evaluated events rationally before decision, especially to avoid disturbing people around them, and develop objectives for living successfully in the future. Secondly, there are three topics of outer-protective factors, including 1) Warm family 2) Friendship support and 3) Social opportunity. To discuss, child's families that had capability to provide love, warmth and caring as a consequence of child's sense of attachment, self-matter, and friendships could provide them with better supports and guidance while facing challenges thought their life. Moreover, non-judgmental, non-aggravate, and non-stigmatized society is crucial for building protective factors for juvenile non-reoffending.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการไม่กระทำความผิดซ้ำen_US
dc.subjectเงื่อนไขปกป้องภายนอกen_US
dc.subjectเงื่อนไขปกป้องภายในen_US
dc.subjectการกระทำผิดทางอาญาen_US
dc.subjectเยาวชนen_US
dc.subjectNon-Reoffendingen_US
dc.subjectinner-protective factorsen_US
dc.subjectouter-protective factorsen_US
dc.subjectCriminal Offencesen_US
dc.subjectJuvenilesen_US
dc.titleเงื่อนไขปกป้องการไม่กระทำความผิดซ้ำของเยาวชน ที่เคยกระทำผิดทางอาญาen_US
dc.title.alternativeProtective factors for non-reoffending among juveniles who were convicted of criminal offencesen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashเยาวชน -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ-
thailis.controlvocab.thashการกระทำในทางอาญา-
thailis.controlvocab.thashการกระทำผิดซ้ำ-
thailis.controlvocab.thashความผิดในคดีเด็กและเยาวชน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาเงื่อนไขปกป้องการไม่กระทำความผิดซ้ำของเยาวชนที่เคยกระทำผิดทางอาญา ด้วยระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพแบบกรณีศึกษา ผู้ให้ข้อมูลหลัก คือ เยาวชนที่เคยทำผิดและไม่กระทำความผิดซ้ำภายใน 1 ปี เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก จำนวน 8 ราย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 เงื่อนไขปกป้องภายใน ประกอบด้วย 6 ประเด็นหลัก คือ 1) รู้เท่าทันและสามารถควบคุมจัดการตนเองได้ 2) ความคิดเติบโตตามวัย 3) มีความเห็นอกเห็นใจผู้อื่น 4) ยอมรับความผิดและพร้อมแก้ไข 5) มุ่งสู่เส้นทางเพื่อเป้าหมายในชีวิตที่ดี และ 6) หัวใจที่ไม่ยอมแพ้ ซึ่งสะท้อนว่า เยาวชนที่มีความตระหนักรู้เท่าทันอารมณ์ ความคิด สามารถยับยั้งชั่งใจอย่างมีสติ แม้ตกอยู่ในสถานการณ์ที่เสี่ยงต่อการกระทำความผิดซ้ำ สามารถตัดสินใจเลือกวิธีการในการแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม ด้วยวิธีการที่หลากหลาย มีการประเมินสถานการณ์อย่างมีเหตุผล ก่อนจะตัดสินใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งคำนึงถึงคนรอบข้างไม่ให้ได้รับความเดือดร้อน สร้างเป้าหมายในการดำเนินชีวิต สู่ความฝันได้อย่างประสบความสำเร็จ ส่วนที่ 2 เงื่อนไขปกป้องภายนอก ประกอบด้วย 3 ประเด็นหลัก คือ 1) ครอบครัวที่แสนอบอุ่น 2) เพื่อนที่คอยสนับสนุน และ 3) สังคมให้โอกาส สะท้อนว่าครอบครัวที่มอบความรัก ความอบอุ่น เอาใจใส่ ทำให้เยาวชนเกิดความผูกพัน รู้สึกว่าตนเองมีความสำคัญ การมีเพื่อนที่ให้ความช่วยเหลือ ไม่ทอดทิ้งในยามลำบาก ให้คำแนะนำทางเลือกที่ดี และเป็นแบบอย่างที่ดี อีกทั้งสังคมปราศจากการตีตรา และมอบโอกาสที่ดี ไร้คำตำหนิ ซ้ำเติม เป็นส่วนสำคัญที่ทำให้เยาวชนไม่หวนกลับไปกระทำความผิดซ้ำ ผลการวิจัย นำไปสู่การออกแบบกิจกรรม และส่งเสริมด้วยกระบวนทางจิตวิทยาการปรึกษาแก่เยาวชนที่เคยกระทำผิด เพื่อช่วยให้ป้องกันไม่ให้หวนกลับไปกระทำผิดซ้ำen_US
Appears in Collections:HUMAN: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
วิจัยสมบูรณ์_Bow_Water mark.pdf20.82 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.