Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73966
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอดิศักดิ์ ธีรานุพัฒนา-
dc.contributor.authorรุจิภาส เมืองใจคำen_US
dc.date.accessioned2022-08-20T07:13:06Z-
dc.date.available2022-08-20T07:13:06Z-
dc.date.issued2022-06-14-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73966-
dc.description.abstractThis independent study aimed to examine employee opinion towards the 5S system of Lamphun Feed Mill Factory, CPF (Thailand) Public Company Limited. The findings of this study shall be applied to improve and rectify existing problems of the 5S system implementation in the studied workplace to become more efficient. Questionnaires were used as the tool to collect data from 150 operative employees of the Lamphun Feed Mill Factory. Data obtained were analyzed by the statistics i.e. frequency, percentage, mean, and standard deviation; as well as the T-test independent. Most operative employees of the Lamphun Feed Mill Factory agreed that the 5S system brought positive impacts on the workplace environment i.e. a pleasant, safe, and hygienic environment, and on the employees i.e. safety improvement. The implementation of the 5S system could reduce the frequency and the severity of accidents at work while increasing productivity by minimizing waste and maximizing the well-functioning workplace. The findings also pointed out that the employees comprehended overall phases of the 5S system at a high level (with a mean score of 3.79), which correlated with their overall opinions towards the implementation of the 5S system which was observed at an Agree level (with a mean score of 4.18). According to the comparison between the level of comprehension on the 5S implementation process and the percentage of correct answers given in the test, the results revealed that the level of comprehension and the percentage of correct answers given in the test were correlated. Overall, the employees comprehended the process of 5S at a high level (with a mean score of 3.82); while earning a high level of percentage for the correct answers given to the 5S comprehensive test (with a mean score of 67.23). When comparing the scores on the 5S comprehensive test between the employees who attended and those who had never attended the 5S training in the past 3 years, the results demonstrated that those who attended the 5S training earned higher scores than those who had never attended the training at 0.01 statistical significance level. For the most effectiveness in implementing the 5S system in the workplace, the employees at all levels should pay their concerns and cooperate with all people involved in the 5S implementation. Regarding the 5S training arrangement, the workplace should provide at least one training program on the 5S system annually, of which the format should fit the real situation. Regarding the cooperation in implementing the 5S system, the employees of all levels should be involved in establishing standards for tool and equipment storage based on appropriate place of requirements. Regarding the knowledge distribution on the 5S system, the workplace should update news and information related to the 5S and distribute it through effective, diverse, and all-rounded communication channels. As per the suggestions for the 5S system improvement, the findings indicated that the employees should receive proper training on or be comprehended the key concepts of each 5S as follows. In the Sort (Seiri) step, the key concept included sorting unwanted/less required/unnecessary items; and eliminating items that were sorted out according to 7 types of abnormalities. In the Set in Order (Seiton) step, the key concept included comprehending relationships between S4: standardizing and S5: sustaining self-discipline; levels of 5S assessment being applied to all 4 phases. The findings also suggested that to sustain self-discipline in implementing the 5S system in the long run, knowledge distribution and communication on the benefits of the 5S implementation should be conveyed to all employees. In addition, co-creating a pleasant work atmosphere or environment and continuing the improvement through training arrangements and co-creating a pleasant work atmosphere of the environment should also be in focus.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectความคิดเห็นen_US
dc.subjectระบบ 5สen_US
dc.subjectโรงงานผลิตอาหารสัตว์บกลำพูนen_US
dc.titleความคิดเห็นของพนักงานที่มีต่อระบบ 5ส ของโรงงานผลิตอาหารสัตว์บกลำพูน บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)en_US
dc.title.alternativeEmployee opinion towards 5s system of Lamphun feed mill factory, CPF (Thailand) public company limiteden_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการจัดการองค์การ-
thailis.controlvocab.thashพนักงานเจ้าหน้าที่-
thailis.controlvocab.thashอาหารสัตว์ -- การผลิต-
thailis.controlvocab.thashโรงงาน -- การบริหาร-
thailis.controlvocab.thashโรงงาน -- การทำความสะอาด-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นของพนักงานที่มีต่อระบบ 5ส ของโรงงานผลิตอาหารสัตว์บกลำพูน บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) โดยนำผลการศึกษาที่ได้ค้นพบไปปรับปรุง แก้ไขปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินระบบ 5ส ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น การศึกษาครั้งนี้ได้เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามจากพนักงานที่ปฏิบัติงานในโรงงานผลิตอาหารสัตว์บกลำพูน จำนวน 150 ราย และสถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที (T - test independent) ผลการศึกษาพบว่า พนักงานของโรงงานผลิตอาหารสัตว์บกลำพูน ส่วนใหญ่เห็นว่าหน่วยงานนำระบบ 5ส มาใช้ส่งผลดีต่อหน่วยงาน คือก่อให้เกิดสภาพการทำงานที่ดี ปลอดภัยและถูกสุขลักษณะ และเห็นว่าหน่วยงานนำระบบ 5ส มาใช้ส่งผลดีต่อตัวพนักงาน คือพนักงานปฏิบัติงานได้อย่างปลอดภัยมากยิ่งขึ้น จากการที่ลดความถี่และความรุนแรงในการเกิดอุบัติเหตุ และพนักงานเกิดผลิตภาพ (Productivity) ในการทำงาน จากการลดความสูญเปล่าและเพิ่มความสะดวกในการทำงาน อีกทั้งพบว่า พนักงานมีความรู้ความเข้าใจต่อระบบ 5ส ในด้านต่างๆ โดยรวมในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 3.79) สอดคล้องกับที่พนักงานให้ความคิดเห็นต่อการดำเนินระบบ 5ส โดยรวมในระดับเห็นด้วย (ค่าเฉลี่ย 4.18) ระดับความรู้ความเข้าใจในข้อปฏิบัติเกี่ยวกับ 5ส ต่ออัตราร้อยละเฉลี่ยการตอบถูกในการวัดความเข้าใจของพนักงานที่มีต่อระบบ 5ส พบว่ามีความสอดคล้องกันโดยพนักงานมีระดับความรู้ความเข้าใจในข้อปฏิบัติเกี่ยวกับ 5ส โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 3.82) และมีร้อยละเฉลี่ยการตอบถูกในการวัดความเข้าใจของพนักงานที่มีต่อระบบ 5ส โดยภาพรวมอยู่ในระดับคะแนนมาก (ค่าเฉลี่ยร้อยละ 67.23) เมื่อนำคะแนนการวัดความเข้าใจของพนักงานที่มีต่อระบบ 5ส ของพนักงานที่ไม่เคยผ่านการอบรมและเคยผ่านการอบรม 5ส ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา มาเปรียบเทียบกันพบว่าผลคะแนนของพนักงานที่ผ่านการอบรมสูงกว่าพนักงานที่ไม่ได้ผ่านการอบรมที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.01 เพื่อให้การดำเนินระบบ 5ส ภายในองค์กรเกิดประสิทธิภาพสูงสุด พนักงานทุกระดับควรให้ความสำคัญและให้ความร่วมมือกับผู้เกี่ยวข้องในการดำเนินระบบ 5ส ในด้านการฝึกอบรมระบบ 5ส ควรที่จะมีการจัดอบรมหลักสูตรระบบ 5ส เป็นประจำอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ในรูปแบบที่เหมาะสมกับสถานการณ์ ด้านการมีส่วนร่วมในการทำ 5ส ควรผลักดันให้พนักงานทุกระดับมีส่วนร่วมในการสร้างมาตรฐานในการจัดเก็บวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้อย่างเหมาะสมตามโอกาสสมควร ด้านการรับรู้ข่าวประชาสัมพันธ์ระบบ 5ส ควรมีการจัดทำข้อมูลข่าวสารที่มีความทันสมัย และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารนั้นผ่านช่องทางที่มีประสิทธิภาพ หลากหลายและรอบด้าน ข้อเสนอแนะต่อระบบ 5ส พนักงานควรได้รับการอบรมหรือได้รับความรู้ต่อวัตถุประสงค์หลักของแต่ละ ส ขั้นตอนการดำเนินการ ส สะสาง อันได้แก่ สำรวจ แยกสิ่งของที่ไม่จำเป็น/ไม่รีบใช้/เกินจำเป็น ขจัดสิ่งของที่ได้คัดแยก ประเภทความผิดปกติ ทั้ง 7 ประเภท สิ่งที่ต้องคำนึงในการทำ ส สะดวก คือให้ความรู้ความเข้าใจของความสัมพันธ์ระหว่าง ส4 สร้างมาตรฐาน และ ส5 สร้างวินัย ระดับการตรวจประเมิน 5ส ทั้ง 4 ระดับ และขั้นตอนการสร้างวินัยให้การดำเนินระบบ 5ส มีความหยั่งยืนโดยการให้ความรู้ และสื่อสารให้พนักงานทราบถึงประโยชน์จากการดำเนินระบบ 5ส สร้างบรรยากาศหรือสภาพแวดล้อมที่ดีร่วมกัน และมีการทำซ้ำ ทั้งการอบรมให้ความรู้และการสร้างบรรยากาศหรือสภาพแวดล้อมที่ดีร่วมกันen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
รวมไฟล์รุจิภาสลายน้ำ.pdf2.16 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.