Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73964
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิวพร อึ้งวัฒนา-
dc.contributor.advisorวิลาวัณย์เตือนราษฎร์-
dc.contributor.authorอัจฉริยา เชื้อเย็นen_US
dc.date.accessioned2022-08-20T06:26:25Z-
dc.date.available2022-08-20T06:26:25Z-
dc.date.issued2022-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73964-
dc.description.abstractThis quasi-experimental study, using a two-group pretest-posttest design, aimed to study the effect of an experiential learning program on village health volunteers (VHV) knowledge and practices of blood glucose testing by capillary blood glucose monitors. The sample group using purposive sampling, the sample was divided into 2 groups, a control group and an experimental group, with 18 people per group. Data collection was undertaken over 6 weeks between April and May 2022. The equipment used in this research included 1) the experiential learning program, 2) slides of content and pictures with subtitles, 3) videos, 4) practical kits for capillary blood glucose monitors, 5) instruction on capillary blood glucose monitors to screen diabetes for VHVs, and 6) a record of blood glucose level results, verified by 6 experts. Tools used for data collection included 1) a knowledge questionnaire on blood glucose testing by capillary blood glucose monitors for diabetes screening, with a content validity index (CVI) of 0.97, and the coefficient of stability of 0.83 by applying Kuder – Richardson’s KR-20 formula; and 2) a practical observation form on blood glucose testing by capillary blood glucose monitors, with a content validity index of 1, and the interrater reliability was 0.8. Descriptive statistics, chi-square test, paired t-test, independent t-test, and Fisher’s exact test were applied for data analysis. The results showed that after applying the experiential learning program to the experimental group, the average score for knowledge on blood glucose testing by capillary blood glucose monitors ( = 12.39, S.D. = 2.03) was statistically significantly higher than before applying the program (p < 0.001) and statistically significantly higher than the control group ( = 10.50, S.D. = 1.58) who were trained with the normal program (p < 0.01). In addition, the results also found that the levels of correct practical blood glucose testing by capillary blood glucose monitors were statistically significantly higher than before applying the program (p < 0.01) and statistically significantly higher than the control group trained by the normal program (p < 0.001). The results demonstrate that an experiential learning program can promote VHVs to gain appropriate knowledge and practice; moreover, the volunteers also gain the skills of practical blood glucose testing by capillary blood glucose monitors correctly, according to the standard.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectโปรแกรมการเรียนรู้เชิงประสบการณ์en_US
dc.subjectความรู้en_US
dc.subjectการปฏิบัติen_US
dc.subjectการตรวจน้ำตาลในเลือดด้วยวิธีเจาะจากปลายนิ้วen_US
dc.subjectอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านen_US
dc.subjectExperiential learning programen_US
dc.subjectKnowledgeen_US
dc.subjectPracticeen_US
dc.subjectBlood glucose testing by capillary blood glucose monitorsen_US
dc.subjectVillage health volunteersen_US
dc.titleผลของโปรแกรมการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ต่อความรู้และการปฏิบัติการตรวจน้ำตาลในเลือดด้วยวิธีเจาะจากปลายนิ้วในอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านen_US
dc.title.alternativeEffects of the experiential learning program on knowledge and practices toward fingertip capillary blood glucose monitoring among village health volunteersen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashน้ำตาลในเลือด-
thailis.controlvocab.thashน้ำตาลในเลือด -- เบาหวาน-
thailis.controlvocab.thashเบาหวาน -- ผู้ป่วย-
thailis.controlvocab.thashเลือด -- การตรวจ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้เป็นงานวิจัยกึ่งทดลอง (quasi-experimental study) แบบ 2 กลุ่ม วัดซ้ำก่อนและหลังการทดลอง (two group pretest-posttest design) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ต่อความรู้และการปฏิบัติการตรวจน้ำตาลในเลือดด้วยวิธีเจาะจากปลายนิ้วในอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง (purposive sampling) แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง กลุ่มละ 18 คน รวบรวมข้อมูล 6 สัปดาห์ ระหว่างเดือนเมษายนถึงพฤษภาคม พ.ศ. 2565 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) โปรแกรมการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ 2) สไลด์เนื้อหา บรรยายภาพ 3) วิดีทัศน์ 4) โมเดลชุดฝึกปฏิบัติการเจาะเลือดฝอยจากปลาย 5) คู่มือการตรวจน้ำตาลในเลือดด้วยวิธีเจาะจากปลายนิ้ว เพื่อคัดกรองโรคเบาหวาน สำหรับ อสม. และ 6) แบบบันทึกและรายงานผลค่าระดับน้ำตาลในเลือด ซึ่งผ่านการตรวจสอบและแก้ไขให้มีความถูกต้องตามคำแนะนำโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 6 ท่าน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย 1) แบบสอบถามความรู้การตรวจน้ำตาลในเลือดด้วยวิธีเจาะจากปลายนิ้วเพื่อคัดกรองโรคเบาหวาน ได้ค่าความตรงเชิงเนื้อหา (content validity index: CVI) เท่ากับ 0.97 และได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.83 ทดสอบโดยใช้สูตร KR-20 ของ Kuder – Richardson และ 2) แบบสังเกตการปฏิบัติการตรวจน้ำตาลในเลือดด้วยวิธีเจาะจากปลายนิ้ว ได้ค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาเท่ากับ 1 และได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.8 ทดสอบโดยใช้การสังเกตระหว่างผู้ประเมินทั้ง 2 คน (interrater reliability) วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา สถิติ chi-square test สถิติ paired t-test สถิติ independent t-test และสถิติ Fisher’s exact test ผลการวิจัยพบว่า หลังได้รับโปรแกรมการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ กลุ่มทดลอง มีค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้การตรวจน้ำตาลในเลือดด้วยวิธีเจาะจากปลายนิ้ว ( = 12.39, S.D. = 2.03) สูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p <0.001) และสูงกว่ากลุ่มควบคุม ( = 10.50, S.D. = 1.58) ที่ได้รับการสอนตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.01) และพบว่า กลุ่มทดลอง มีคะแนนการปฏิบัติการตรวจน้ำตาลในเลือดด้วยวิธีเจาะจากปลายนิ้วอย่างถูกต้อง สูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.01) และสูงกว่ากลุ่มควบคุมที่ได้รับการสอนตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001) ผลการวิจัยพบว่า หลังได้รับโปรแกรมการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ กลุ่มทดลอง มีค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้การตรวจน้ำตาลในเลือดด้วยวิธีเจาะจากปลายนิ้ว ( = 12.39, S.D. = 2.03) สูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.001) และสูงกว่ากลุ่มควบคุม ( = 10.50, S.D. = 1.58) ที่ได้รับการสอนตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p< 0.01) และพบว่า กลุ่มทดลอง มีระดับการปฏิบัติการตรวจน้ำตาลในเลือดด้วยวิธีเจาะจากปลายนิ้วอย่างถูกต้อง สูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p< 0.01) และสูงกว่ากลุ่มควบคุมที่ได้รับการสอนตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p< 0.001)en_US
Appears in Collections:NURSE: Theses



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.