Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73961
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorขวัญชีวัน บัวแดง-
dc.contributor.authorวรเมธ ชัยมงคลen_US
dc.date.accessioned2022-08-20T06:06:23Z-
dc.date.available2022-08-20T06:06:23Z-
dc.date.issued2022-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73961-
dc.description.abstractThis research question of this thesis are as follws 1) the process of reproduction of the Nakha Khamchanod shows the way of thinking and the process of cultural selection. How it relates to faith, miracleism, and 2) the mechanism makes How is the original meaning changed in the process? All of this We can see that legends are the basis for other cultural practices such as agricultural rituals. Medical treatment, fortune-telling, etc. These cultural practices also project a library of cultural experiences and beliefs. And when the world enters the globalization era The flow of faith and miracles have increased. The legend was reproduced and a new meaning was created. Through borrowing of antiques and treasures, it is also passed on to other cultural practices. The study found The meaning of the serpent has retained its original definition and has changed in the context of modern society. which the meaning in the tales and legends are reproduced through the process of becoming a commodity. Both in the form of sacred objects, entertainment media and lottery culture which is an important factor in the production of Nakata The commodification of Nakata is a result of globalization that has affected the changes in tourism policies and the behavior of people facing imbalances in life. caused by the volatility of social change under globalization And although modern thinking seems to have pushed the current of superstition away, but at the same time causing a reversal of the superstitious way of thinking People therefore choose to self-sustain and define themselves in both scientific and superstitious problems. In terms of cultural selection and domination The cultivators used their powers to choose cultures to match their power patterns and inflict semantic resistance and dominance behavior. In this manner, the culture becomes an object. and actions in the Kham Chanot area It is considered an act of politics and governance as well.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectคำชะโนดen_US
dc.subjectพญานาคen_US
dc.subjectนาคาคติen_US
dc.subjectกระบวนการผลิตซ้ำen_US
dc.subjectปฏิบัติการทางวัฒนธรรมen_US
dc.titleพลวัตการสร้างและผลิตซ้ำกับกระแสศรัทธาปาฏิหาริย์ ในพื้นที่คำชะโนดen_US
dc.title.alternativeDynamic of the production and reproduction of Naga Myth and the re- mystification trend in Kamchanod Areaen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashความเชื่อ-
thailis.controlvocab.thashศรัทธา-
thailis.controlvocab.thashนาค-
thailis.controlvocab.thashความเป็นอยู่และประเพณี-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวิทยานิพนธ์เล่มนี้ได้ตอบคำถามในการศึกษาว่า 1) กระบวนการผลิตซ้ำนาคาคติในคำชะโนดแสดงให้เห็นวิธีคิดและกระบวนการคัดสรรทางวัฒนธรรม ที่สัมพันธ์กับศรัทธาปาฏิหาริย์นิยมอย่างไร และ 2)กลไกดังกล่าวทำให้ ความหมายเดิมถูกเปลี่ยนแปลงในกระบวนการดังกล่าวอย่างไร ทั้งหมดที่กล่าวมานี้ เราจะเห็นว่าตำนานเป็นฐานสำคัญต่อปฏิบัติการทางวัฒนธรรมอื่นๆ เช่น พิธีกรรมที่เกี่ยวกับเกษตรกรรม การรักษาพยาบาล การให้โชคลาภ เป็นต้น ปฏิบัติการทางวัฒนธรรมเหล่านี้ฉายภาพคลังประสบการณ์ทางวัฒนธรรมและความเชื่ออีกด้วย และเมื่อโลกได้เข้าสู่ยุคโลกาภิวัตน์ กระแสศรัทธาปาฏิหาริย์ก็ได้เพิ่มากขึ้น ตำนานจึงได้ถูกผลิตซ้ำและเกิดความหมายใหม่ ผ่านการหยิบยืมของเก่าและโลกาภิวัตน์ยังส่งต่อปฏิบัติการทางวัฒนธรรมอื่นๆอีกด้วย การศึกษาพบว่า ความหมายของพญานาคนั้นได้คงสถานะของการนิยามตามคติดั้งเดิมและยังมีการเปลี่ยนแปลงตามบริบทของสังคมสมัยใหม่ ซึ่งความหมายในนิทานและตำนานนั้น ถูกนำมาผลิตซ้ำผ่านกระบวนการกลายเป็นสินค้า ทั้งในรูปแบบของวัตถุมงคล สื่อบันเทิง และวัฒนธรรมหวย ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญต่อการผลิตซ้ำนาคาคติ การกลายเป็นสินค้าของนาคาคติเป็นผลมาจากระบบ โลกาภิวัตน์ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงนโยบายการท่องเที่ยวและพฤติกรรมของคนที่ต้องเผชิญกับความไม่สมดุลของชีวิต อันเกิดจากความผันผวนของการเปลี่ยนแปลงทางสังคมภายใต้ระบบ โลกาภิวัตน์ และแม้ว่าความคิดสมัยใหม่ดูเหมือนจะผลักให้กระแสไสยศาสตร์นั้นหมดไป แต่ในขณะเดียวกันกลับทำให้เกิดการหวนคืนของวิธีคิดแบบไสยศาสตร์ ผู้คนจึงเลือกดำรงตนเองและนิยามตนเองในปัญหาทั้งในแง่วิทยาศาสตร์และไสยศาสตร์ ส่วนในแง่ของการคัดสรรทางวัฒนธรรมและการครอบงำนั้น ผู้มีอำนาจในการคัดสรรต่างได้ใช้อำนาจของตนเองในการเลือกวัฒนธรรมให้เข้ากับรูปแบบเชิงอำนาจและเกิดการต่อสู้ขัดขืนในเชิงความหมายและพฤติกรรมการครอบงำ ซึ่งการกระทำในลักษณะนี้การทำให้วัฒนธรรมกลายเป็นวัตถุ และการกระทำในพื้นที่คำชะโนดนั้น ถือเป็นการกระทำเชิงการเมืองและการปกครองด้วยen_US
Appears in Collections:SOC: Theses



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.