Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73952
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกรกฎ ใยบัวเทศ ทิพยาวงศ์-
dc.contributor.authorภาคินัย ไชยะสุen_US
dc.date.accessioned2022-08-20T05:25:52Z-
dc.date.available2022-08-20T05:25:52Z-
dc.date.issued2565-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73952-
dc.description.abstractThe research aims to develop a prototype model for selecting product champions in 5 communities on the LIMEC path. This work applied Content Validity Index (CVI) to find the suitable criteria and Fuzzy Analytic Hierarchy Process (FAHP) to select the product champion. The selection of product champions was later developed which could be introduced to other communities for selecting their representative products. The CVI test result found that there were 5 out of 20 suitable criteria. The result of FAHP indicated the most weighted criterion was identity (C3=0.3791), community participation (C1=0.2652), products (C6=0.2155), marketing (C7=0.0922), and business status (C8=0.0480), respectively to select product champion on 5 communities by FAHP. These results demonstrate a prototype model that can analyze product champions through the uniqueness of five different communities in a single model and can be applied to other communities through the “Product Champion Selection Guideline” to help the government realize the potential for developing communities, increase income, and make decisions conveniently. These results have been included in the economic development plan and response to the local government of that community through the community development plan, respectively.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectMultiple Criteria Decision Making (MCDM)en_US
dc.subjectFuzzy Analytic Hierarchy Process (FAHP)-
dc.subjectContent Validity Index (CVI)-
dc.subjectHybrid Method-
dc.titleการสร้างต้นแบบการคัดเลือกผลิตภัณฑ์แชมป์เปี้ยนด้วยวิธีลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์ความคลุมเครือสำหรับชุมชนต้นแบบบนเส้นทางไลเมคen_US
dc.title.alternativePrototyping of product champion selection using Fuzzy analytic hierarchy process for communities on the LIMEC pathen_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.thashผลิตภัณฑ์ -- คุณภาพ-
thailis.controlvocab.thashผลิตภัณฑ์ -- การตลาด-
thailis.controlvocab.thashการตัดสินใจลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์ความคลุมเครือ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างต้นแบบการคัดเลือกผลิตภัณฑ์แชมป์เปี้ยนใน 5 ชุมชนต้นแบบบนเส้นทาง LIMEC ด้วยวิธีการหาดัชนีความตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity Index ;CVI) เพื่อคัดเลือกเกณฑ์ที่เหมาะสม และกระบวนการตัดสินใจลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์ความคลุมเครือ (Fuzzy Analytic Hierarchy Process; FAHP) เพื่อคัดเลือกผลิตภัณฑ์แชมป์เปี้ยนซึ่งจะนำไปสู่การสร้างต้นแบบการคัดเลือกผลิตภัณฑ์แชมเปี้ยนในชุมชนอื่น ๆ ต่อไป โดยผลการคัดเลือกด้วยวิธี CVI พบว่าจากเกณฑ์ทั้งหมด 20 เกณฑ์ มีเพียง 5 เกณฑ์ที่ผ่านการคัดเลือก คือ ความเป็นอัตลักษณ์ (C3=0.3791) การมีส่วนร่วมของชุมชน (C1=0.2652) ด้านผลิตภัณฑ์ (C6=0.2155) ด้านการตลาด (C7=0.0922) และด้านสถานะทางธุรกิจ (C8=0.0480) ตามลำดับ เพื่อคัดเลือกผลิตภัณฑ์แชมป์เปี้ยนด้วยวิธี FAHP ซึ่งจากผลการวิจัยพบว่า เครื่องมือต้นแบบการคัดเลือกผลิตภัณฑ์แชมป์เปี้ยนนี้ สามารถวิเคราะห์ และคัดเลือกผลิตภัณฑ์ในชุมชนที่มีเอกลักษณ์ที่แตกต่างกันได้ในเครื่องมือเดียว รวมถึงสามารถนำไปใช้กับชุมชนอื่น ๆ ได้ผ่านการจัดทำ “คู่มือการคัดเลือกผลิตภัณฑ์แชมป์เปี้ยน” เพื่อช่วยให้รัฐบาลมองเห็นศักยภาพในการพัฒนาชุมชน เพิ่มรายได้ และช่วยประกอบการตัดสินใจได้ง่ายขึ้น โดยผลลัพธ์เหล่านี้จะถูกรวมอยู่ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และจะถูกส่งต่อให้กับภาครัฐส่วนท้องถิ่นของชุมชนนั้น ๆ ผ่านแผนพัฒนาชุมชนตามลำดับen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
วิทยานิพนธ์ (ภาคินัย ไชยะสุ 620631110) ฉบับแก้ไข.pdfฉบับตัดหน้าว่างที่เกินมาออกครับ45.26 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.