Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73942
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชมพูนุท เกษมเศรษฐ์ | - |
dc.contributor.author | จุฑาทิพย์ อินทะโน | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-08-20T02:50:38Z | - |
dc.date.available | 2022-08-20T02:50:38Z | - |
dc.date.issued | 2022-07-19 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73942 | - |
dc.description.abstract | This research aimed to reduce waste and improve quality rate of corn seed conditioning process at the case study company. Currently, wastes were identified at many activities along the process. Moreover, the overall equipment effectiveness (OEE) was lower that the target value. At the beginning, the study of this process were carried out. There are four steps of this process as color sorting, size sorting, weight sorting, and seed unloading. Current process was analyzed using process chart, value and no-value activities identification, value stream mapping, and OEE calculation. The key problems were identified using Pareto concept. To reduce waste, Why-why analysis and ECRS concept were applied for improvements. Non-value but necessary activities as cleaning, setting up equipment, and non-necessary transportation were improved. After the improvement, the process lead time was reduced from 293.70 to 237.70 minutes or reduced 56 minutes as 19.06% per lot and the cost reduction can be approximately as 100,102 Baht per year. For quality rate improvement, the main problem was inappropriate storage area and method. Additional equipment is needed and standard procedure for storing product should be implemented. The results of the improvement showed that quality rate was increased from 63.18% to 92.75% and OEE was improved from 56.94% to 90.69%. Based on the last year 2021, rework product was reduced to 604,281 kg and the cost was reduced as 181,284 Baht. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การลดความสูญเปล่าในกระบวนการปรับปรุงสภาพเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดด้วยเทคนิคลีน | en_US |
dc.title.alternative | Waste reduction in corn seed condition improvement process using lean techniques | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | - |
thailis.controlvocab.thash | การผลิตแบบลีน | - |
thailis.controlvocab.thash | การลดปริมาณของเสีย | - |
thailis.controlvocab.thash | การควบคุมการผลิต | - |
thailis.controlvocab.thash | การควบคุมกระบวนการผลิต | - |
thailis.controlvocab.thash | ข้าวโพด -- เมล็ด | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อลดความสูญเปล่าและเพิ่มค่าอัตราคุณภาพในกระบวนการปรับปรุงสภาพเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดในบริษัทกรณีศึกษา ในการดำเนินงานปัจจุบันพบว่ามีความสูญเปล่าในกระบวนการในหลายกิจกรรม และค่าประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักรมีค่าต่ำกว่าค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ การดำเนินการเริ่มจากการศึกษากระบวนการซึ่งประกอบด้วย 4 ขั้นตอนได้แก่ การคัดแยกสีของเมล็ด การคัดแยกขนาดของเมล็ด การคัดน้ำหนักของเมล็ดและการโหลดเมล็ดออก ทำการวิเคราะห์กระบวนการปัจจุบันโดยใช้แผนภูมิกระบวนการ ทำการระบุคุณค่าของกิจกรรม สร้างแผนภาพสายธารคุณค่า และคำนวณค่าประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักร ระบุจุดที่ควรปรับปรุงโดยใช้หลักการพาเรโต สำหรับการลดความสูญเปล่าในกระบวนการ ใช้เทคนิคการวิเคราะห์ Why-why analysis และเทคนิคการปรับปรุงงาน ECRS ทำการลดเวลาในกิจกรรมที่ไม่เกิดมูลค่าแต่มีความจำเป็นต้องทำ เช่น การทำความสะอาด การติดตั้งอุปกรณ์ และลดการเคลื่อนที่ที่ไม่จำเป็น ทำให้เวลานำรวมในกระบวนการลดลงจาก 293.70 นาที เหลือ 237.70 นาที ลดลง 56 นาที คิดเป็นร้อยละ 19.06 ต่อล๊อต ส่งผลให้ค่าใช้จ่ายรายปีลดลงได้ 100,102บาท ในการเพิ่มค่าอัตราคุณภาพ พบว่าสาเหตุของเมล็ดพันธุ์ที่ต้องมีการแก้ไขเกิดจากการจัดเก็บที่ไม่เหมาะสม จึงจำเป็นที่จะต้องจัดหาอุปกรณ์และมีวิธีการที่เป็นมาตรฐานเข้ามาช่วย โดยหลังการปรับปรุง พบว่าค่าอัตราคุณภาพเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 63.18 เป็นร้อยละ 92.75 ส่งผลให้ค่าประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักรทั้งกระบวนการเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 56.94 เป็นร้อยละ 90.69 ข้อมูลในปี 2564 แสดงให้เห็นว่ามีจำนวนเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดที่ต้องมีการแก้ไขลดลงจากปี 2563 อยู่ที่ 604,281 กิโลกรัม ส่งผลให้โรงงานสามารถลดค่าใช้จ่ายลงได้ 181,284 บาท | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
I.S. - จุฑาทิพย์ อินทะโน.pdf | การลดความสูญเปล่าในกระบวนการปรับปรุงสภาพเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดด้วยเทคนิคลีน | 2.19 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.