Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73939
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ทัศนีย์ หอมกลิ่น | - |
dc.contributor.author | วรรณา ขุนนางจ่า | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-08-20T00:55:56Z | - |
dc.date.available | 2022-08-20T00:55:56Z | - |
dc.date.issued | 2022-07 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73939 | - |
dc.description.abstract | The purposes of this study were (1) to examine the level of perceived organizational support, organizational – based self – esteem and in – role performance (2) to investigate the mediating role of organizational – based self – esteem in the relationships between perceived organizational support and in – role performance. The population was 136 employees of private school in Chiang Mai Province who have worked for at least 6 months. The scales used in this research were consisted of four questionnaires as follows: demographic information, perceived organizational support Scale, organizational – based self – esteem Scale and performance of personnel of a private school in Chiang Mai Province. The reliabilities of the scales (Cronbach’s alpha) were from .60 to .89. This research used multiple regression analysis and bootstrap method to test hypotheses in the Model 4 of PROCESS macro by Hayes (2018). The result showed that (1) perceived organizational support can predict in – role performance and organizational and (3) organizational – based self – esteem played as a mediating role of the relationship between perceived organizational support and in – role performance (β = .02, p <. 0.5). | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การ และผลการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ของพนักงานโรงเรียนเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัดเชียงใหม่: บทบาทการเป็นตัวแปรสื่อของความภาคภูมิใจแห่งตนในบริบทองค์การ | en_US |
dc.title.alternative | Relationships between perceived organizational support and in – role performance of the private school employeesin Chiang Mai Province: The Mediating role of organizational – based self – esteem | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | ความผูกพันต่อองค์การ -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | ความพอใจในการทำงาน -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | การบริหารงานบุคคล -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | โรงเรียนเอกชน -- เชียงใหม่ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาระดับการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การ ความภาคภูมิใจแห่งตนในบริบทองค์การและผลการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ และ (2) เพื่อศึกษาบทบาทการเป็นตัวแปรสื่อของความภาคภูมิใจแห่งตนในบริบทองค์การของความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การและผลการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ โดยกลุ่มประชากรที่ใช้ในการศึกษาเป็นพนักงานที่ปฏิบัติงานในโรงเรียนเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 136 คน ที่ทำงานไม่น้อยกว่า 6 เดือน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามคุณลักษณะประชากร แบบสอบถามการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การ ความภาคภูมิใจแห่งตนในบริบทองค์การและผลการปฏิบัติงานของบุคลากรโรงเรียนเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัดเชียงใหม่ โดยมีค่าความเชื่อมั่นของแบบวัด (Cronbach’s alpha) ตั้งแต่ .60 ถึง .89 การวิจัยครั้งนี้ใช้การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ (Multiple regression analysis) และวิธีการบูตสแตรป (Bootstrap method) ในการทดสอบสมมติฐานการวิจัยด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป PROCESS macro โดย Hayes (2018) แบบจำลองที่ 4 (Model 4) ผลการศึกษาพบว่า การรับรู้การ สนับสนุนจากองค์การสามารถทำนายผลการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (β = .20, p <. 05) การรับรู้การสนับสนุนจากองค์การสามารถทำนายความภาคภูมิใจในบริบท องค์การ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (β = .12, p < .05) ความภาคภูมิใจแห่งตนในบริบทองค์การสามารถทำนายผลการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01 (β = .34, p < .01) และความภาคภูมิใจแห่งตนในบริบทองค์การเป็นตัวแปรสื่อแบบบางส่วน (Partial mediation) ในความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การและผลการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (β = .02, p <. 0.5) | en_US |
Appears in Collections: | HUMAN: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
IS-Wanna-Final.pdf | 1.69 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.