Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73917
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุภารัตน์ วังศรีคูณ-
dc.contributor.advisorอัจฉรา สุคนธสรรพ์-
dc.contributor.authorพูนทรัพย์ ใจคำสุขen_US
dc.date.accessioned2022-08-16T16:30:15Z-
dc.date.available2022-08-16T16:30:15Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73917-
dc.description.abstractTriage nurses must have knowledge and skills to accurately triage emergency patients. Online instruction is a method to improve the knowledge and skills of triage nurses. This quasi-experimental study aimed to compare nurses' knowledge and accuracy of patient triage before and after learning from an online instructional program entitled "Patient Triage with the Emergency Severity Index at the Emergency Department," which was developed by the researcher based on the lesson structure and contents of Promton's computer-assisted instruction (Promton, 2015). The participants were 23 registered nurses working in the emergency department of four Army Affiliated Hospitals. The study was conducted from April 2019 to May 2020. The Adult Learning Theory was used as this study's conceptual framework. The instruments used for data collection included the Knowledge Test regarding Patient Triage at Emergency Department which was a part of Promton's computer-assisted instruction and the Patient Triage at Emergency Department Accuracy Score Record From which was developed by the researcher. The Knowledge Test was checked for reliability and yielded a Kuder- Richardson 20 of 0.80. The accuracy scores were counted from the match between each participant's triage of 20 patients and the triage of the same patients from the researcher and 2 experts. Descriptive statistics and the Wilcoxon Matched Pairs Signed-Ranks Test were used for data analysis. The findings were as follows: 1. The participants' knowledge scores after studying online instruction (median 14.00) were statistically significantly higher than the scores before studying (median 10.00, p < .001); 2. The participants' patient triage accuracy scores after studying online instruction (median 15.00) were statistically significantly higher than the scores before studying (median 11.00, p <.001). These findings reveal that online instruction can improve nurses' knowledge and skill in patient triage at the emergency department.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลของการใช้บทเรียนออนไลน์เรื่องการคัดแยกผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉินต่อความรู้และความถูกต้องในการคัดแยกผู้ป่วยของพยาบาลen_US
dc.title.alternativeEffects of using emergency department patient triage online instruction on knowledge and accuracy in patient triage of nursesen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashการคัดแยกผู้ป่วย-
thailis.controlvocab.thashการตรวจคัดโรค-
thailis.controlvocab.thashบริการเวชศาสตร์ฉุกเฉิน-
thailis.controlvocab.thashแบบเรียนสำเร็จรูป-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractพยาบาลคัดแยกผู้ป่วยจำเป็นต้องมีความรู้และทักษะเพื่อสามารถคัดแยกผู้ป่วยฉุกเฉินได้ อย่างถูกต้อง บทเรียนออนไลน์เป็นวิธีการหนึ่งในการพัฒนาความรู้และทักษะของพยาบาลคัดแยก การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความรู้และความถูกต้องในการคัดแยกผู้ป่วย ของพยาบาลก่อนและหลังการเรียนรู้ด้วยบทเรียนออนไลน์เรื่องการคัดแยกผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉินด้วย ดัชนีความรุนแรงฉุกเฉินซึ่งผู้วิจัยพัฒนาขึ้นจากเนื้อหาและโครงสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ของ มนตรี พรมท่อน (2558) กลุ่มตัวอย่างคือพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานที่ห้องฉุกเฉินของ โรงพยาบาลสังกัดกองทัพบก 4 โรงพยาบาล จำนวน 23 ราย ดำเนินการวิจัยตั้งแต่เดือนเมษายน 2562 ถึงเดือนพฤยภาคม 2563 โคยใช้ทฤษฎีการเรียนรู้แบบผู้ใหญ่เป็นกรอบแนวคิดในการวิจัยครั้งนี้ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบทคสอบความรู้เรื่องการคัดแยกผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉิน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนของ มนตรี พรมท่อน (2558) และแบบบันทึก คะแนนความถูกต้องในการคัดแยกผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉินซึ่งพัฒนาโดยผู้วิจัย แบบทดสอบความรู้ผ่าน การทดสอบความเชื่อมั่นได้ค่าคูเดอร์ ริชาร์ดสัน 20 (Kuder-Richardson 20) เท่ากับ 0.80 คะแนนความ ถูกต้องนับจากความตรงกันของผลการคัดแยกผู้ป้วย 20 คน ของกลุ่มตัวอย่างกับผู้วิจัยและผู้เชี่ยวชาญ อีก 2 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา และสถิติทดสอบวิลคอกซัน (The Wilcoxon Matched Pairs Signed-Ranks Test) ผลการวิจัยพบว่า 1. คะแนนความรู้ในการกัดแยกผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉินของกลุ่มตัวอย่างหลังเรียนบทเรียน ออนไลน์ (มัธยฐาน 14.00 มากกว่าก่อนเรียน (มัธยฐาน 10.00) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p <.001) 2. คะแนนความถูกต้องของการกัดแยกผู้ป่วยของกลุ่มตัวอย่างหลังเรียนบทเรียนออนไลน์ (มัธยฐาน 15.00) มากกว่าก่อนเรียน (มัธยฐาน 11.00) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p <.001) ผลการวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าบทเรียนออนไลน์สามารถพัฒนาความรู้และทักษะของ พยาบาลในการคัดแยกผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉินen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
591231033 พูนทรัพย์ ใจคำสุข.pdf2.57 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.