Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73915
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Chanchai Sangchyoswat | - |
dc.contributor.advisor | Panomsak Promburom | - |
dc.contributor.advisor | Prathanthip Kramol | - |
dc.contributor.author | Traganrut Sattayawong | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-08-16T16:25:39Z | - |
dc.date.available | 2022-08-16T16:25:39Z | - |
dc.date.issued | 2021 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73915 | - |
dc.description.abstract | Water is an essential resource and input for agricultural, growing crop in particular. Agricultural transition, from subsistence to semi-commercialized cropping system with more intensive cropping pattern, driven by social-economic factors, pushed higher water demand. Small-scale water reservoir was developed to catch and meet the increased water demand. This well describes transitional context of Huay Muen reservoir and its supplied agricultural area. It holds 696,000 m3 capacity, supplies 1,490 rai of irrigated land. Farmers in this area could produce two crop seasons after harvesting rice. Farmers has formed water user group with well management. However due to limited water supply and intensive-complex-unseasonal cropping pattern, more diverse crops and planting dates, this made it difficult to manage water using traditional skill of "Kae-Muang " or community water manager. This also revealed possible risk to water scarcity under rainfall variability condition. This study aims at exploring livelihood and water management context and situation, create perception and awareness of farmers toward water management context and risk. Participatory approach and participatory geographic information system (PGIS) were employed to accomplish the objectives. The finding and employed approach, method and process were synthesized to formulate a practical guidance for community-based water management for agriculture that could be adapted and applied in other areas. Sustainable livelihood framework (LSF) and participatory method and tools were applied for livelihood context and situation analysis; accompanied by semi-structured and in-depth interview of sampled farmers and key informants. Field survey using acrial photo, land parcel map and farmers interview at farm place were conducted. The seasonal cropping calendar consists of wet-season rice and to crops after rice harvesting during dry season. Five major crops after rice are maize, peanut, sweet corn, pumpkin and leaf mustard. The irrigated area consists of 13 supplied zones, water was channeled through main canal and lateral canal that some of them are concrete and some are dirt canal. Using aerial photo draped with land use plot created from geographical information system, could help farmers to position their farm plot, neighboring farm plot and associated irrigation canal. This allowed them to see whole picture of the farmland and irrigation system. Focus group discussion resulted in understanding of livelihood context and livelihood dependency on agriculture especially cropping. It found that livelihood dependency for cash income and food on producing crops that mostly utilized water from the reservoir, non-agricultural activities such as labor waging and other jobs, and natural food gathered from forest area near the reservoir were 80%, 19% and 1% respectively. This confirmed the importance of the reservoir and also created awareness of the farmers with regard to water use and management. Field survey was conducted to quantify actual amount of water use for each crop that the farmers planted. The recorded data were cross section of the canal, water flow velocity and time of irrigated duration. Crop water requirement was also calculated using Penman-Monteith equation, local soil and weather data. These two water demand data were also compared with the crop water requirement data provided by the Royal Irrigation Department (RID). The crop water requirement determined by the RID for sweet corn, maize, pumpkin, and peanut were 324.8 m3, 540.81 m3, 504.69 m3 , 440.79 m3, and 303.62 m3 respectively. While, the amount of actual water use measured in the field and calculated from the Penman-Monteith method of both year 2018/ 2019 and year 2020/ 2021 were much higher than the RID references. The comparison of actual water use for growing crops after rice between year 2018/2019 and year 2020/2021 revealed drastic increase in water amount that the farmers supplied to all five crops, about two folds. The amount of water used in year 2018/ 19 for sweet corn, maize, pumpkin, peanut and leaf mustard were 1,152.3 m3 /rai, 510.53 m3/rai, 680 m3 /rai, 771.43 m3/rai and 417.83 m3 /rai respectively; while in the year 2020/2021 were 3,167.15 m3/rai, 1,892.59 m3/rai, 1,028 m3 /rai, 849.79 m3 /rai and 1,072 m3 /rai respectively.Amount of crop water requirement of year 2018/19 and year 2020/21 were also calculated using Cropwat 8.0 program to compare with the above data. It was found that the amount obtained from Cropwat 8.0 was lower than the actual measurement, and the calculated result of the year 2020/21 was higher than the year 2018/19. In year 2018/19, amount of crop water requirement per rai for sweet corn, maize, pumpkin, peanut and leaf mustard were 171.4 m3, 219.8 m3 , 268.7 m3, 291.6 m3 and 268.1. While in the year 2020/21 were 194.0 m3, 255.0 m3, 293.5 m3 , 304.5 m3 and 316 m3 respectively. This could be hypothesized that increase in water use was caused by difference of planting date and watering schedule of individual cultivated plot that required water supply asynchronously. Every occurrence of water supply, water had to rerun from the main canal to cach individual plot, instead of running from one to another continuously. In addition, the temperature in year 2020/21 was higher while rainfall was lower, this cause increasing in evaporation and evapotranspiration, thus required more water supply ompared to the year 2018/2019. The study results on livelihood context, current water management context and situation, and comparison of crop water requirement among the three methods above were present to the farmers as mean for dialogue and discussion. This feedback workshop stimulated discussion among the farmers. They could understand better the context and were aware of current situation and possible risk. The proposition of new regulation for better water management was agreed and emerged. The finding and experience gained from implementing this study were formulated as a guidance for practical community-based water management using participatory approach and PGIS with water user engagement that could be adapted and applied in other area. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Development of process to enhance participatory community-based water management capacity for agriculture in Nan Province | en_US |
dc.title.alternative | การพัฒนากระบวนการเสริมสร้างความสามารถการบริหารจัดการน้ำทางเกษตรแบบมีส่วนร่วมระดับชุมชนในจังหวัดน่าน | en_US |
dc.type | Thesis | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Water -- Management | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Water use | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | น้ำเป็นปัจจัยสำคัญสำหรับการเพาะปลูกพืช การเปลี่ยนแปลงระบบเกษตร จากการผลิตเพื่อ บริโภคยังชีพ เป็นการเกษตรที่เข้มข้น มีการปลูกพืชตลอดทั้งปี เกิดการพัฒนาแหล่งน้ำขนาดเล็กเพื่อ ตอบสนองปริมาณความต้องการน้ำเพิ่มสูงขึ้น เช่นเดียวกันกับพื้นที่ศึกษาซึ่งเป็นพื้นที่ทำการเกษตรที่ อาศัยน้ำจากอ่างเก็บน้ำห้วยหมื่น ซึ่งบรรจุน้ำได้ 696,000 ลบ.ม. มีพื้นที่รับน้ำทั้งหมด 1,409 ไร่ ถือว่า เป็นพื้นที่ที่มีการจัดการน้ำได้ดี สามารถปลูกพืชหลังนาในช่วงฤดูแล้งได้ 2 ครั้งต่อปี แต่ในปัจจุบัน ระบบพืชมีความหลากหลายและการจัดการซับช้อนมากขึ้น มีช่วงวันปลูกและฤคูปลูกแตกต่างกัน ส่งผลให้แก่เหมืองเกิดยุ่งยากในการบริหารจัดการน้ำเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ นอกจากนี้ยังมีความเสี่ยงของ การขาดแคลนน้ำในกรณีที่ปริมาณน้ำฝนน้อยและปริมานน้ำที่กักเก็บในอ่างมีไม่เพียงพอต่อความ ต้องการ วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้ เพื่อให้ทราบถึงสถานการณ์การจัดการน้ำและความเสี่ยงที่ จะเกิดขึ้นในกลุ่มผู้ใช้น้ำ เพื่อให้บรรลุข้อเสนอร่วมของการจัดการน้ำที่ดีขึ้นที่ตกลงกันระหว่างผู้ใช้น้ำ โดยส่วนหนึ่งอาศัยการใช้ข้อมูลเชิงพื้นที่สนับสนุนการจัดการน้ำ และนำผลการศึกษามาพัฒนาเป็น กระบวนการของการจัดการน้ำอย่างมีส่วนร่วมที่สามารถนำไปปรับใช้ในพื้นที่อื่นได้ ในเบื้องต้นทำการศึกษาวิเคราะห์บริบทการดำรงชีพโดยใช้กรอบแนวคิดความมั่นคงการดำรง ชีพ (Sustainable Livelihood Framework) และเครื่องมือประกอบการมีส่วนร่วม ร่วมกับการสัมภาษณ์ กึ่งโครงสร้างตัวแทนเกษตรกรและผู้รู้ในพื้นที่ พร้อมทำการสำรวจพื้นที่โดยใช้แผนที่และข้อมูลราย แปลงที่อยู่ในระบบภูมิสารสนเทศ และสำรวจข้อมูลการปลูกพืชหลังนาระดับรายแปลง พบว่าหลัง การเพาะปลูกและเก็บเกี่ยวข้าว เกษตรกรทำการปลูกพืชหลังนาจำนนสองรอบ มีพืชหลัก 5 ชนิด ได้แก่ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ถั่วลิสง ข้าวโพดหวาน ฟักทอง และผักกาดเขียวปลี พื้นที่เพาะปลูกและรับน้ำ แบ่งเป็น 13 โซน ระบบส่งน้ำมีเส้นลำเหมืองเส้นหลัก ลำเหมืองคอนกรีต (Concrete canal) ลำเหมือง ดิน (Earth canal) และคลองซอย (Lateral canal) เกษตรกรผู้ใช้น้ำสามารถระบุแปลงพื้นที่รับน้ำขอ ตนเอง ชนิดพืชและช่วงเวลาที่ปลูกพืช จำแนกเส้นลำเหมืองที่อยู่พื้นที่ใกล้เคียงที่ดินทำกิน โดยใช้ ข้อมูลแผนที่ และจากการประชุมกลุ่มทำให้ทราบบริบทการดำรงชีพและการพึ่งพาน้ำเพื่อการเกษตร ในภาพ โดยรวมการดำรงชีพพึ่งพาอาหารและรายได้จากการเกษตร 80% ซึ่งส่วนใหญ่พึ่งพาน้ำในอ่า เก็บน้ำห้วยหมื่น อีก 19% เป็นรายได้จากนอกกาคการเกษตรและการพึ่งพาอาหารที่ซื้อจากภายนอก เช่น สินค้าแปรรูป สินค้ากึ่งสำเร็จรูป เนื้อสัตว์ เป็นต้น และอีก 1% เป็นการพึ่งพาและใช้ประโยชน์ จากอาหารธรรมชาติที่หาได้จากบริเวณป่าต้นน้ำเหนืออ่างเก็บน้ำ เพื่อนำมาบริโภคในครัวเรือนทำการ สำรวจการใช้น้ำของเกษตรกรเพื่อนำมาคำนวณปริมาณการใช้น้ำของพืชต่างๆ นำมาเปรียบเทียบกับ ปริมาณน้ำที่พืชต้องการจากการคำนวณตามวิธีของ Penmen-Monteith ที่ใช้ข้อมูลภูมิอากาศ ข้อมูลดิน และข้อมูลปริมาณฝนของพื้นที่ศึกษา ผลการคำนวณการใช้น้ำของจากกรมชลประทาน ปี 2018 มีค่ กลางการใช้น้ำของพืช ดังนี้ ข้าวโพดหวาน 324.8 ต่อไร่ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 540.81 ลบ.ม.ต่อไร่ ฟักทอง 504.69 ลบ.ม.ต่อไร่ ถั่วลิสง 440.79 ลบ.ม.ต่อไร่ และผักกาดเขียวปลี 303.62 ลบ.ม.ต่อไร่ ศึกษา เปรียบเทียบปริมาณการใช้น้ำในการปลูกพืชหลังนาของเกษตรกร ในพื้นที่ พบว่ามีปริมาณการใช้น้ำ ของพืชในปีการผลิต 2018/19 และปีการผลิต 2020/21 มีค่าการใช้น้ำสูงกว่าค่ากลางที่กรมชลประทาน คำนวณได้ และพบว่า ปีการผลิต 2020/21 พบว่ามีปริมาณการใช้น้ำที่เพิ่มขึ้นมากกว่าในปีการผลิต 2018/19 สองเท่า โดยปริมาณการใช้น้ำของพืชจากการใช้จริง ร พืชหลักที่คำนวณได้ ในปีการผลิต 2018/19 มีดังนี้ ข้าวโพดหวาน 1,152.30 ลบ.ม.ต่อไร่ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 510.53 ลบ.ม.ต่อไร่ ฟักทอง 680 ลบ.ม.ต่อไร่ ถั่วลิสง 771.43 ลบ.ม.ต่อไร่ และผักกาดเขียวปลี 417.83 ลบ.ม.ต่อไร่ เมื่อเทียบกับ ปริมาณการใช้น้ำในปีการผลิต 2020/21 ข้าวโพดหวาน 3,167.15 ลบ.ม.ต่อไร่ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 1,892.59 ลบ.ม.ต่อไร่ ฟักทอง 1,028 ลบ.ม.ต่อไร่ ถั่วลิสง 849.79 ลบ.ม.ต่อไร่ และผักกาดเขียวปลี 1,072 ลบ.ม.ต่อไร่ จากผลการคำนวณการใช้น้ำที่ใด้จากกรมชลประทาน และจากการคำนวณการใช้ น้ำจริงของพืชในพื้นที่ศึกษามีค่ามากกว่า แต่ไม่สามารถเปรียบเทียบได้ทั้ง 2 ปีการผลิต เนื่องจาก ข้อมูลการคำนวณมีข้อมูลชุดเดียว ผู้ศึกยาจึงได้นำข้อภูมิอากาศ และปริมาณฝน นำไปคำนวณใน โปรแกรม Cropwat 8.0 เพื่อเปรียบเทียบข้อมูลปริมาณการใช้น้ำในปีการผลิต2018/19 และปี 2020/21 เพื่อเปรียบเทียบแนวโน้มปริมาณการใช้น้ำสูงขึ้นเช่นเดียวกับผลการคำนวณปริมาณการใช้น้ำจริง หรือไม่ ผลการคำนวณ พบว่า แม้ว่าค่าปริมาณการใช้น้ำที่คำนวณในโปรแกรม Cropwat 8.0 จะมีค่า ปริมาณการใช้น้ำที่น้อยกว่าค่าข้อมูลผลการ ใช้น้ำจริง แต่เปรียบเทียบปริมาณการใช้น้ำของ 2 ปีการ ผลิตมีค่าการใช้น้ำเพิ่มมากขึ้น ดังนี้ ปีการผลิต 2018/19 ข้าวโพดหวาน 171.4 ลบ.ม.ต่อไร่ ข้าวโพค เลี้ยงสัตว์ 219.8 ลบ.ม.ต่อไร่ ฟกทอง 268.7 ลบ.ม.ต่อไร่ ถั่วลิสง 291.6 ลบ.ม.ต่อไร่ และผักกาดเขียวปลี 268.1 ลบ.ม.ต่อไร่ และในปีการผลิต 2020/21 ข้าวโพดหวาน 194 ลบ.ม.ต่อไร่ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 255 ลบ.ม.ต่อไร่ ฟักทอง 293.5 ลบ.ต่อไร่ ถั่วลิสง 304 ลบ.ม.ต่อไร่ และผักกาดเขียวปลี 316 ลบ.ม.ต่อไร่ ทั้งนี้สามารถอธิบายสาเหตุของการใช้น้ำที่เพิ่มขึ้น ว่าเกิดจากเกษตรกรมีพื้นที่ปลูกพืชที่ หลากหลายและช่วงเวลาการใช้น้ำไม่พร้อมกัน ทำให้เกิดการสูญเสียของน้ำที่ต้องไหลจากต้นทาง คลองสายหลักในทุกครั้งที่เกษตรกรแต่ละคนที่แม้ว่าจะมีพื้นที่อยู่ในคลองซอยเดียวกันก็ตาม ประกอบกับปัจจัยภายนอกที่เปลี่ยนแปลงไปในปีเพาะปลูก 2520-2521 ได้แก่ อุณหภูมิที่สูงขึ้น และปริมาณฝนลดลง ทำให้การสูญเสียน้ำจากการระเหยจากผิวดิน และการสูญเสียน้ำทางใบของพืชเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้ปริมาณความต้องการน้ำเพิ่มมากขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับในปีเพาะปลูก 2019/20 จากนั้นนำผลการศึกษาวิเคราะห์ด้านบริบทและสถานการณ์การใช้และบริหารจัดการน้ำและผล การคำนวณการใช้น้ำของพืชหลักในพื้นที่ศึกษาเปรียบเทียบกับที่เกษตรกรใช้จริงในปัจจุบันให้กับ กลุ่มผู้ใช้น้ำ ทำให้เกิดการตระหนักรู้ของเกษตรกร และได้ข้อตกลงในการปรับปรุงเพิ่มเติมกติกาการ ใช้น้ำในพื้นที่เพื่อให้เกิดการบริหารจัดการน้ำให้ดีขึ้น ผลที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้ สามารถเป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการน้ำของอ่างเก็บน้ำ ขนาดเล็กพื้นที่อื่นๆ ในจังหวัดน่านเพื่อให้เกิดการจัดการน้ำที่ดีขึ้น และนำไปใช้ ได้นำมาสนับสนุน วางแผนพัฒนาระบบน้ำ | en_US |
Appears in Collections: | AGRI: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
590835901 Traganrut Sattayawong.pdf | 10.47 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.