Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73914
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรุ่งฉัตร ชมภูอินไหว-
dc.contributor.authorนิลมล มหัทธนโชษิตen_US
dc.date.accessioned2022-08-16T16:22:58Z-
dc.date.available2022-08-16T16:22:58Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73914-
dc.description.abstractThe case study company is a manufacturer and distributor of a range of food products aimed at general consumers, as well as restaurant and hotel businesses. The company has a need to develop and improve its fresh pork products to best meet the requirements of the group of customers who are restaurateurs and hoteliers in Chiang Mai province, with the plan to increase market share which is currently low in this segment. The research is in three principal phases. The first phase is an analysis using the Kano Model to arrive at the attributes and attribute levels of the fresh pork products. The six attributes obtained are then used further in the second phase, which is the Conjoint Analysis (CA) to find the attributes with an effect on customer preferences in decisions to purchase fresh pork products. In the CA part of this study, data were collected from a total of 200 restaurateurs and 20 hoteliers in Chiang Mai city. The results of this research found that the attributes most important to restaurateurs were: freshness and cleanliness: very fresh and clean; followed by price: 125 baht/kg; standards certification labelling: government guarantee of quality; amount of fat: 3%; color of pork: pinkish-red and slicing the pork: cutting/slicing by machine or by hand with knife. The attributes most important to hoteliers were: freshness and cleanliness: very fresh and clean; followed by color of pork: pinkish-red; price: 125 baht/kg; billing period (credit term): 30 days; chilled temperature: a single temperature control throughout the production period before reaching the consumer and slicing the pork: cutting/slicing to the desired size, ready to use or to smaller size for easy storage. In the final phase, Quality Function Deployment (QFD) was used to determine guidelines to develop fresh pork products and production processes to meet the requirements of each consumer group. Attributes and attribute levels of fresh pork products that consumers are satisfied with, including importance values obtained from the CA were used as customer requirements (WHATs) in QFD Phase 1, then the relevant technical requirements (HOWs) were analyzed and prioritized.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนาแนวทางเพื่อเพิ่มคุณภาพผลิตภัณฑ์เนื้อหมูสดและกระบวนการผลิตด้วยเทคนิคการวิเคราะห์องค์ประกอบร่วมและการกระจายหน้าที่เชิงคุณภาพen_US
dc.title.alternativeDevelopment of guidelines for enhancing quality of fresh pork products and production process by conjoint analysis and quality function deployment techniquesen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashเนื้อสุกร -- การเลือกซื้อ-
thailis.controlvocab.thashความพอใจของผู้บริโภค-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractบริษัทกรณีศึกษาทำการผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์อาหารหลากหลายรูปแบบ ให้แก่กลุ่ม ผู้บริโภคทั่วไปและกลุ่มธุรกิจร้านอาหารและโรงแรม บริษัทมีความต้องการที่จะพัฒนาและปรับปรุง ผลิตภัณฑ์เนื้อหมูสดของบริษัท ให้สามารถตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้ากลุ่มผู้ประกอบการ ร้านอาหาร และกลุ่มผู้ประกอบการโรงแรม ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ให้ได้มากที่สุด เพื่อ หวังจะเพิ่มส่วนแบ่งทางการตลาดที่มีอยู่น้อยในขณะนี้ งานวิจัยนี้ประกอบไปด้วย 3 ส่วนหลัก คือ ส่วนแรกการวิเคราะห์ด้วยคาโนโมเดล (Kano Model: KM) เพื่อให้ได้มาซึ่งลักษณะ (Attribute) และ ระดับลักษณะ (Attribute level) ของผลิตภัณฑ์เนื้อหมูสด จำนวน 6 ลักษณะ เพื่อนำไปใช้ต่อในส่วนที่ สองคือ การวิเคราะห์องค์ประกอบร่วม (Conjoint Analysis: CA) เพื่อหาลักษณะที่มีผลต่อความพึง พอใจของผู้บริโภคในการตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑ์เนื้อหมูสด ในส่วนของ CA นั้นได้ทำการเก็บ ข้อมูลจากผู้ประกอบการร้านอาหารในเชียงใหม่ทั้งหมด 200 ราย และผู้ประกอบการโรงแรม จำนวน 20 ราย ผลการวิจัยพบว่า ลักษณะที่ผู้ประกอบร้านอาหารให้ความสำคัญมากที่สุดคือ ลักษณะที่แสดง ความสดและสะอาดแบบสดและสะอาดมากๆ รองลงมา คือ ราคา 125 บาท/กิโลกรัม, การมีใบรับรอง มาตรฐานและป้ายประกันคุณภาพจากรัฐบาล, มีปริมาณไขมันที่แทรกใบเนื้อสุกรประมาณ 3% และสี ของเนื้อหมูต้องเป็นสีชมพูอมแดง โดยผลิตภัณฑ์เนื้อหมูสดจะมีการหั่น/ซอย ด้วยเครื่อง หรือด้วยมีด โดยใช้มือก็ได้ ส่วนลักษณะที่ผู้ประกอบการโรงแรมให้ความสำคัญมากที่สุดคือ ลักษณะที่แสดงความ สดและสะอาดแบบสดและสะอาดมากๆ รองลงมา คือ สีของเนื้อหมูต้องเป็นสีชมพูอมแดง, ราคา 125 บาท/กิโลกรัม, มีช่วงระยะเวลาในการเรียกเก็บเงิน (เครดิตเทอม) ที่ 30 วัน, ผลิตภัณฑ์เนื้อหมูสดผ่าน การควบคุมอุณหภูมิที่เป็นเลขตัวเดียวตลอดระยะเวลาการผลิตก่อนถึงมือผู้บริโภค โดยสามารถหั่น/ ซอย ผลิตภัณฑ์เนื้อหมูสดให้ได้ตามขนาดที่ต้องการพร้อมใช้งาน หรือหั่น/ซอยให้เล็กลงเพื่อง่ายต่อ การเก็บรักษาก็ได้ ในส่วนสุดท้ายผู้วิจัยได้ใช้เทคนิดการกระจายหน้าที่เชิงคุณภาพ (Quality Function Deployment: QFD) ในการหาแนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑ์และกระบวนการในการผลิตให้ตรงกับ ความต้องการของผู้บริโภคแต่ละกลุ่ม โดยนำลักษณะ และ ระดับลักษณะของผลิตภัณฑ์เนื้อหมูสดที่ ผู้บริโภคพึงพอใจ รวมถึงคำความสำคัญ (Importance Values) ที่ได้จาก CA มาใช้เป็นข้อมูลความ ต้องการของผู้บริโภค (WHATs) ใน HOQ เฟสที่ 1 แล้วทำการวิเคราะห์และจัดลำดับความสำคัญของ ลักษณะทางเทคนิค (HOWs) ที่เกี่ยวข้องen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590631110 นิลมล มหัทธนโชษิต.pdf7.84 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.