Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73871
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSiya Uthai-
dc.contributor.advisorChusak Wittayapak-
dc.contributor.authorHtoi Aungen_US
dc.date.accessioned2022-08-16T09:47:57Z-
dc.date.available2022-08-16T09:47:57Z-
dc.date.issued2022-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73871-
dc.description.abstractThe research examines the Kachin ethnic community’s social network in Thailand by exploring the social processes and phenomena of the Kachin group from Myanmar that exist within the Thai sovereignty. The study focuses on the production of the social space of Baan Mai Samakki (Kachin Village), Chiang Dao District, Chiang Mai Province, Northern Thailand. The Kachin community is assimilated and contested under the discourse of domination and power. The local Kachin community in Baan Mai Samakki maintains its power by setting up a space for social networks in Thailand. The migration of Kachin to Thailand was linked between the Kachin Independence Army and the Royal Thai Army from 1965 to 1980. In 1982, the Royal Project Development Center was established at the Baan Mai Samakki (Kachin Village) as the Kachin people’s single entity community in Thailand. The research found that Myanmar’s internal sovereignty and political difficulties worsened as a result of investigating the reasons and determinants of the migratory phenomena and process. It investigates the Kachin representational level of social space in which group identification has manifested among the community by establishing ethnic community and cultural identity, symbol, belonging, and social memorial inside Thailand’s nation-state. It also looks into the Kachin kinship system, which plays an important part in the creation of social space and is an underlying system in Kachin organisation and structure. The Kachin kinship system is a social space for social interaction in Kachin social organisation and structure, as every social category is a kinship category. The study indicated that the Kachin kinship system is essential to how Kachin community are organised and structured. This research studied how the physical space of the Kachin kinship system influences the Kachin community in Baan Mai Samakki. In Kachin village at Ban Mai Samakki, the dialectical approach to the social network is to examine social interactions such as micro-bridge and macro-bridge networks between individuals and groups, as well as between the local and the state level in networking. Significantly, the resource access and networks, such as water management and celebrations, create the social space for the Kachin migrant community. According to the findings, local institutions are the main pillars of social networks and capital for the Kachin community in Baan Mai Samakki. This study examines how the Kachin ethnic in Baan Mai Samakki performed their duties as Thai citizens and established a Thai national identity. The concept of collective actions is used to examine the role and participation of local residents in social events that have power over institutions and society. The study discovered that Baan Mai Samakki's villagers' unity, willingness, trust, and collaboration formed a collective identity, as well as the dynamics of collective action functioned while gathering in social events. The Kachin community is a single unit that retains local community networks and power. The Kachin community practiced the ethnic cultural identity as well as Kachin community networks in Baan Mai Samakki. The research also showed that the Kachin community in Baan Mai applied the dynamic local-based institutions and networks that form the collective identity and ethnic identity.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleSocial space of the Kachin community networks through the Kachin celebrations in Baan Mai Samakki, Chiang mai, Thailanden_US
dc.title.alternativeพื้นที่ทางสังคมของเครือข่ายชุมชนคะฉิ่นผ่านงานเฉลิมฉลองของคะฉิ่น ณ บ้านใหม่สามัคคี จังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทยen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashKachin-
thailis.controlvocab.thashTribes -- Chiang mai-
thailis.controlvocab.thashTribes -- Manners and customs-
thailis.controlvocab.thashEthnic groups -- Chiang mai-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยฉบับนี้เป็นการสำรวจเครือข่ายสังคมของชุมชนชาติพันธุ์ชนเผ่าคะฉิ่นในประเทศไทยโดยการสำรวจกระบวนการทางสังคมและการถือกำเนิดขึ้นของกลุ่มชนเผ่าคะฉิ่นที่มาจากประเทศพม่าที่มาอยู่ในประเทศไทยแต่ยังอยู่ภายใต้อำนาจอธิปไตยของประเทศพม่า ในการศึกษานี้ได้มุ่งเน้นไปที่สังคมพื้นที่ชนเผ่าคะฉิ่นที่บ้านใหม่สามัคคี อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ ภาคเหนือของประเทศไทย ชุมชนคะฉิ่นถูกหลอมรวมและมุ่งมั่นกันภายใต้วาทกรรมของการปกครองและอำนาจ ชุมชนคะฉิ่นในท้องถิ่นบ้านใหม่สามัคคีรักษาอำนาจด้วยการจัดตั้งพื้นที่สำหรับเครือข่ายสังคมในประเทศไทย การอพยพของชาวคะฉิ่นมายังประเทศไทยมีความเชื่อมโยงระหว่างกองทัพอิสรภาพคะฉิ่นและกองทัพบกไทยระหว่างปี พ.ศ. 2508 ถึง พ.ศ. 2523 ในปี พ.ศ. 2525 ได้มีการจัดตั้งศูนย์พัฒนาโครงการหลวงขึ้นที่บ้านใหม่สามัคคี (หมู่บ้านคะฉิ่น) เป็นชุมชนแห่งเดียวของชาวคะฉิ่นในประเทศไทย. ในการศึกษาได้พบว่าอำนาจอธิปไตยภายในของประเทศพม่าและการเกิดปัญหาทางการเมืองนั้นแย่ลง จึงเป็นเหตุผลและปัจจัยที่ทำให้เกิดเหตุการณ์และกระบวนการอพยพนี้ ในการนำเสนอความเป็นชนเผ่าคะฉิ่น ต่อสาธารณะได้นำเสนอในฐานะเป็นกลุ่มชนไม่ใช่ส่วนบุคคล โดยการนำเสนอ มักจะนำเสนอเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม สัญลักษณ์ กรรมสิทธิ์ และอนุสรณ์สถานทางสังคมภายในประเทศไทย นอกจากนี้แล้วระบบเครือญาติของชนเผ่าคะฉิ่นซึ่งมีบทบาทสำคัญในการสร้างพื้นที่ทางสังคมและเป็นระบบพื้นฐานในองค์กรและโครงสร้างของชนเผ่าคะฉิ่น การสร้างโครงสร้างทางสังคมนั้นระบบเครือญาติของชนเผ่าคะฉิ่นเป็นพื้นที่ทางสังคมสำหรับการปฏิสัมพันธ์ทางสังคมในการจัดโครงสร้าง เนื่องจากทุกหมวดสังคมเป็นหมวดหมู่เครือญาติ จากการศึกษาพบว่าระบบเครือญาติของชนเผ่าคะฉิ่นมีความสำคัญต่อการจัดระเบียบและจัดโครงสร้างและการอพยพของชาวคะฉิ่น งานวิจัยนี้ศึกษาว่าพื้นที่ทางกายภาพของระบบเครือญาติของชนเผ่าคะฉิ่นก็มีอิทธิพลต่อชุมชนคะฉิ่นในบ้านใหม่สามัคคี ในหมู่บ้านคะฉิ่นที่บ้านใหม่สามัคคี แนวทางวิภาษในเครือข่ายสังคมคือการสำรวจการปฏิสัมพันธ์ทางสังคม เช่น เครือข่ายไมโครบริดจ์และแมโครบริดจ์ระหว่างบุคคลและกลุ่มคนตลอดจนระดับท้องถิ่นและระดับรัฐในเครือข่ายและที่สำคัญคือการเข้าถึงทรัพยากรและเครือข่ายต่างๆ เช่น การจัดการระบบน้ำและงานเฉลิมฉลองต่างๆ ได้สร้างพื้นที่ทางสังคมสำหรับชุมชนผู้อพยพชาวคะฉิ่น ผลการวิจัยพบว่า สถาบันท้องถิ่นเป็นเสาหลักของเครือข่ายสังคมและเป็นจุดศูนย์กลางของชุมชนผู้อพยพชาวคะฉิ่นที่บ้านใหม่สามัคคี การศึกษานี้ศึกษาว่าชาวกะฉิ่นที่บ้านใหม่สามัคคีทำหน้าที่ของตนในฐานะพลเมืองไทยอย่างไรและสร้างอัตลักษณ์ของชาติไทยได้อย่างไร แนวความคิดของการมีส่วนกระทำร่วมกันนั้นถูกนำมาใช้เพื่อตรวจสอบบทบาทและการมีส่วนร่วมของชาวบ้านในท้องถิ่นในกิจกรรมทางสังคมที่มีอำนาจเหนือเครือข่ายทางสังคมต่างๆ ผลการศึกษาพบว่าความสามัคคี ความสมัครใจ ความไว้วางใจ และความร่วมมือของชาวบ้าน บ้านใหม่สามัคคีทำให้เกิดอัตลักษณ์ส่วนรวม เช่นเดียวกับพลังแห่งการร่วมมือกันในขณะที่รวมตัวกันในการทำกิจกรรมทางสังคม ดังนั้นชุมชนคะฉิ่น จึงนับว่าเป็นชนเผ่าหรือกลุ่มชาติพันธุ์ที่รักษาเครือข่ายชุมชนท้องถิ่นและอำนาจไว้ ชุมชนคะฉิ่นได้ฝึกฝนเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชาติพันธุ์ การวิจัยยังแสดงให้เห็นว่าชุมชนคะฉิ่นในบ้านใหม่สามัคคี ใช้สถาบันและเครือข่ายท้องถิ่นที่มีการมีส่วนร่วมด้วยกันซึ่งก่อให้เกิดอัตลักษณ์ส่วนรวมและอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์en_US
Appears in Collections:SOC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620435815-Htoi-Aung...wdocx.pdf3.68 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.