Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73859
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ทัศนีย์ หอมกลิ่น | - |
dc.contributor.author | ลสิชา ไมน์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-08-14T01:44:29Z | - |
dc.date.available | 2022-08-14T01:44:29Z | - |
dc.date.issued | 2022-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73859 | - |
dc.description.abstract | The purposes of this research were (1) to examine the level of Perceived Organizational Politics, Work Alienation, Workplace Incivility and Counterproductive Work Behavior of operational employees, and (2) to examine the predictive power of Perceived Organizational Politics, Work Alienation, Workplace Incivility towards Counterproductive Work Behavior of operational employees. A correlational research design was used. The sample was 250 employees in the operational level who have worked for at least 1year. The research instruments were (1) demographic questionnaire (2) Perceived Organizational Politics questionnaire (3) Work Alienation questionnaire (4) Workplace Incivility questionnaire and (5) Counterproductive Work Behavior questionnaire. Data were analyzed by using descriptive statistics, Pearson’s Correlation Coefficient and Multiple Regression Analysis. The research found that: 1. Overall, the sample group had a moderate level of perceived organizational politics. Work alienation and workplace incivility had overall a low level. Furthermore, counterproductive work behavior had overall the lowest rate. 2. Perceived Organizational Politics was positively correlated with Counterproductive Work Behavior statistically significant (p < .01). 3. Work Alienation was positively correlated with Counterproductive Work Behavior statistically significant (p < .01). 4. Workplace Incivility was positively correlated with Counterproductive Work Behavior statistically significant (p < .01). | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ปัจจัยพยากรณ์พฤติกรรมการต่อต้านการทำงานของพนักงานระดับปฏิบัติการ | en_US |
dc.title.alternative | Factors predicting counterproductive work behavior of operational employees | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | - |
thailis.controlvocab.thash | วัฒนธรรมองค์การ | - |
thailis.controlvocab.thash | ความเครียดในการทำงาน | - |
thailis.controlvocab.thash | ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล | - |
thailis.controlvocab.thash | ความพอใจในการทำงาน | - |
thailis.controlvocab.thash | คุณภาพชีวิตการทำงาน | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาระดับการรับรู้การเมืองในองค์การ ความรู้สึกแปลกแยกจากองค์การ ความไร้อารยะในองค์การ และพฤติกรรมการต่อต้านการทำงานของพนักงานระดับปฏิบัติการ (2) เพื่อศึกษาอำนาจการพยากรณ์ของการรับรู้การเมืองในองค์การ ความรู้สึกแปลกแยกจากองค์การ ความไร้อารยะในองค์การที่มีต่อพฤติกรรมการต่อต้านการทำงานของพนักงานระดับปฏิบัติการ รูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงสหสัมพันธ์ กลุ่มตัวอย่างเป็นพนักงานระดับปฏิบัติการที่ปฏิบัติงานมาแล้วอย่างน้อย 1 ปี จำนวน 250 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) แบบสอบถามคุณลักษณะส่วนบุคคล (2) แบบวัดการรับรู้การเมืองในองค์การ (3) แบบวัดความรู้สึกแปลกแยกจากองค์การ (4) แบบวัดความไร้อารยะในองค์การ และ (5) แบบวัดพฤติกรรมการต่อต้านการทำงาน สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) การวิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson’s Correlation Coefficient) และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ผลการวิจัย 1. กลุ่มตัวอย่างมีการรับรู้การเมืองในองค์การโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง มีความรู้สึกแปลกแยกจากองค์การและมีความไร้อารยะในองค์การโดยรวมอยู่ในระดับต่ำ นอกจากนี้ยังมีพฤติกรรมการต่อต้านการทำงานโดยรวมอยู่ในระดับต่ำที่สุด 2. การรับรู้การเมืองในองค์การมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับพฤติกรรมการต่อต้านการทำงาน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .01) 3. ความรู้สึกแปลกแยกจากองค์การมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับพฤติกรรมการต่อต้านการทำงาน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .01) 4. ความไร้อารยะในองค์การมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับพฤติกรรมการต่อต้านการทำงาน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .01) | en_US |
Appears in Collections: | HUMAN: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
IS-final-Lasicha-5.pdf | 1.91 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.