Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73854
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรังสิยา นารินทร์-
dc.contributor.advisorวิลาวัณย์ เตือนราษฎร์-
dc.contributor.authorศิริพร สิทธิen_US
dc.date.accessioned2022-08-14T01:12:22Z-
dc.date.available2022-08-14T01:12:22Z-
dc.date.issued2022-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73854-
dc.description.abstractThis quasi-experimental study examined the effects of a motivation enhancement program on practices to prevent motorcycle injuries in junior high school students. The objectives were to compare mean scores for practices to prevent motorcycle injuries in junior high school students in the experimental group, who received the 8-week motivation enhancement program, before and after receiving the program, and between the experimental group and a control group who received regular school health services. The sample group consisted of 71 persons in junior high school in Mathayom 1-3 students who ride motorcycles, aged 13 to 15 years, with 35 persons in the experimental and 36 persons in the control groups. The study was conducted in Saraphi District, Chiang Mai Province during February-March 2022. The research tools consisted of the following 1) the motivation enhancement program on practices to prevent motorcycle injuries in junior high school students; 2) a guidebook on practices to prevent motorcycle injuries; and 3) a record form of practices to prevent motorcycle injuries. The tools used for data collection consisted of a demographic questionnaire and a questionnaire on practices to prevent motorcycle injuries which was verified for content accuracy by six experts and the content validity index was 0.96 and a Cronbach’s alpha coefficient was 0.82. General demographic data were analyzed using descriptive statistics; data on practices to prevent motorcycle injuries were analyzed using the paired sample t-test and the independent sample t-test The results revealed that the experimental group who received the 8-week motivation enhancement program had mean scores for practices to prevent motorcycle injuries (X ̅=4.26, S.D.=0.31), higher scores than before receiving the program (X ̅=3.71, S.D.=0.43), and higher scores than the control group who received regular school health services (X ̅=3.88, S.D.=0.34) with statistical significance (p<0.05). The results show that the motivation enhancement program can promote practices for preventing motorcycle injuries in junior high school students. The results of this research will be beneficial to community nurse practitioners and health care teams who can be use it as a guideline for organizing activities with schools for enhance motivation among junior high school students to practice preventing motorcycle injuries and reducing the loss of life that may occur.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการเสริมสร้างแรงจูงใจen_US
dc.subjectการป้องกันการบาดเจ็บจากการขับขี่รถจักรยานยนต์en_US
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นen_US
dc.subjectMotivation enhancement Programen_US
dc.subjectprevention of motorcycle Injuriesen_US
dc.subjectmiddle high school studentsen_US
dc.titleผลของโปรแกรมเสริมสร้างแรงจูงใจต่อการปฏิบัติเพื่อป้องกันการบาดเจ็บจากการขับขี่รถจักรยานยนต์ในนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นen_US
dc.title.alternativeEffects of the motivation enhancement program on practices to prevent motorcycle injuries in junior high school studentsen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashการขับขี่จักรยานยนต์-
thailis.controlvocab.thashผู้ขับขี่จักรยานยนต์-
thailis.controlvocab.thashจักรยานยนต์-
thailis.controlvocab.thashอุบัติเหตุ -- การป้องกัน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยแบบกึ่งทดลอง (quasi-experimental research) นี้ เป็นการศึกษาผลของโปรแกรมเสริมสร้างแรงจูงใจต่อการปฏิบัติเพื่อป้องกันการบาดเจ็บจากการขับขี่รถจักรยานยนต์ในนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบคะแนนการปฏิบัติเพื่อป้องกันการบาดเจ็บจากการขับขี่รถจักรยานยนต์ในนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระหว่างกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมเสริมสร้างแรงจูงใจเป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์ ก่อนและหลังได้รับโปรแกรมฯ และระหว่างกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมฯ กับกลุ่มที่ได้รับการบริการอนามัยโรงเรียนตามปกติ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนที่กำลังศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นปีที่ 1-3 อายุ 13-15 ปี เพศชายและหญิง ที่ขับขี่รถจักรยานยนต์ จำนวน 71 ราย แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 35 ราย และกลุ่มควบคุม 36 ราย ศึกษาในอำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ ถึงมีนาคม พ.ศ. 2565 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) โปรแกรมเสริมสร้างแรงจูงใจต่อการปฏิบัติเพื่อป้องกันการบาดเจ็บจากการขับขี่รถจักรยานยนต์ในนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 2) คู่มือการปฏิบัติเพื่อป้องกันการบาดเจ็บจากการขับขี่รถจักรยานยนต์ และ 3) แบบบันทึกการปฏิบัติเพื่อป้องกันการบาดเจ็บจากการขับขี่รถจักรยานยนต์ เครื่องมือที่ใช้รวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป และแบบสอบถามการปฏิบัติเพื่อป้องกันการบาดเจ็บจากการขับขี่รถจักรยานยนต์ ซึ่งได้ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 6 ท่าน ค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาเท่ากับ 0.96 และค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.82 วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปด้วยสถิติเชิงพรรณนา วิเคราะห์การเปรียบเทียบคะแนนการปฏิบัติเพื่อป้องกันการบาดเจ็บจากการขับขี่รถจักรยานยนต์โดยสถิติ Paired sample t-test และ Independent sample t-test ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มทดลองที่ได้รับโปรแกรมเสริมสร้างแรงจูงใจเป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์มีคะแนนเฉลี่ยการปฏิบัติเพื่อป้องกันการบาดเจ็บจากการขับขี่รถจักรยานยนต์ (X ̅=4.26, S.D.=0.31) สูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ (X ̅=3.71, S.D.=0.43) และสูงกว่ากลุ่มควบคุมที่ได้รับบริการอนามัยโรงเรียนตามปกติ (X ̅=3.88, S.D.=0.34) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าโปรแกรมเสริมสร้างแรงจูงใจสามารถส่งเสริมให้เกิดการปฏิบัติเพื่อป้องกันการบาดเจ็บจากการขับขี่รถจักรยานยนต์ในนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ซึ่งผลการวิจัยจะเป็นประโยชน์ต่อพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนและทีมสุขภาพที่จะนำไปใช้เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมร่วมกับโรงเรียนเพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจในนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นให้มีการปฏิบัติป้องกันการบาดเจ็บจากการขับขี่รถจักรยานยนต์และลดการสูญเสียชีวิตที่อาจจะเกิดขึ้นen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full Thesis-Siriporn Sitti-watermark.pdf2.45 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.