Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73849
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ยงยุทธ ยะบุญธง | - |
dc.contributor.advisor | ธารณ์ ทองงอก | - |
dc.contributor.author | ธนัชชนม์ มาตระออ | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-08-13T15:08:53Z | - |
dc.date.available | 2022-08-13T15:08:53Z | - |
dc.date.issued | 2021-04 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73849 | - |
dc.description.abstract | Independent research on digital age school administration guidelines for Managing Schools in the Digital Age of Small Schools under the Office of Primary Education Service Area Office in Chiang Mai Province. With the objective of 1) Study problems and factors contributing to the administration of digital education institutions of small schools. Under the Office of Primary Educational Service Area in Chiang Mai Province.2) Study the digital education administration of small schools with good practice.3) Prepare and verify the effectiveness of the digital education institution administration for Managing Schools in the Digital Age of Small Schools Under the Office of Primary Educational Service Area in Chiang Mai Province. By dividing the education into 3 steps which are Step 1) study of problems and factors contributing to the administration of digital education institutions for Managing Schools in the Digital Age of Small Schools under the Office of Primary Educational Service Area in Chiang Mai Province the population of informants is the school director or the person acting on behalf of the school director. Managing Schools in the Digital Age of Small Schools under the Office of Primary Educational Service Area in Chiang Mai, 312 schools. The tool used was a questionnaire. The data was analyzed using statistics, mean and standard deviation. Step 2) Study of the digital age school administration with good practice Informants are 1) Director of educational institutions with digital age management Including the school director Master school Educational innovations or schools with institutional administrators, teachers, students who have received educational innovation awards. Academic standing, specialization or more 2) Supervisor Academic standing, specialization or more Responsible for Educational innovation and technology 3) Specialized Teacher of Education or more responsible for or related to media, innovation and educational technology that has received an award for innovation in education the instrument used was a structured interview. Analyze data in inductive summary. Step 3) Establishing and reviewing guidelines for Managing Schools in the Digital Age of Small Schools under the Office of Primary Educational Service Area in Chiang Mai Province. Which is divided into 2 sub-phases: Step 3.1) Establishing guidelines for Managing Schools in the Digital Age of Small Schools under the Office of Primary Educational Service Area in Chiang Mai Province The method for collecting the information is to synthesize the information obtained from the study of the document and take the information for step 1 and step 2 to define a guideline Which the studier has summarized in an essay Step 3.2) Verification of feasibility and feasibility Of the draft guidelines for Managing Schools in the Digital Age of Small Schools under the Office of Primary Educational Service Area in Chiang Mai Province The group of informants were experts, obtained from a specific selection of 5 people. The tool used was a suitability checklist. And possibility Data analysis using statistics Mean and standard deviation. The results of the study, problems and factors contributing to the administration of schools in the Digital Age of Small Schools under the Office of Primary Educational Service Area in Chiang Mai Province found that administrative problems overall were at a medium level. When considered individually, it was found that the most problematic aspect is the innovative educational institution administration structure. And the least is the leadership. The overall factors contributing to management is at a high level. When considering each aspect, the number 1 is the budget factor and the last one is the technology factor. The results of the study of the digital education administration of small schools with good practice showed that the management of the educational institution administrative structure in technology the technology vision should be clearly defined. There are people in charge of the appropriate technology work. The administrators promote the use of technology in educational institutes by the administrators as a model for the use of technology in the administration of educational institutions. Raising awareness of the importance of applying technology in work Create a culture of change in the form of PLC, including supporting the technological self-development of teachers and stakeholders in collaboration with external agencies. For approaches to Managing Schools in the Digital Age of Small Schools under the Office of Primary Educational Service Area in Chiang Mai Province. The created consists of 1) the method of action and recommendations for the implementation of the guidelines. As for the results of the examination Possibilities found that overall at the highest level and higher than the specified criteria. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | แนวทางการบริหารสถานศึกษายุคดิจิทัลสำหรับโรงเรียนขนาดเล็กสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Guidelines for managing schools in the digital age of small schools under the office of Primary Educational Service Area in Chiang Mai Province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | การบริหารการศึกษา | - |
thailis.controlvocab.thash | นวัตกรรมทางการศึกษา | - |
thailis.controlvocab.thash | การศึกษาขั้นประถม -- เชียงใหม่ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การค้นคว้าแบบอิสระ เรื่อง แนวทางการบริหารสถานศึกษายุคดิจิทัลสำหรับโรงเรียนขนาดเล็กสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัญหาและปัจจัยที่เอื้อต่อการบริหารสถานศึกษายุคดิจิทัลของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่ 2) ศึกษาการบริหารสถานศึกษายุคดิจิทัลของโรงเรียนขนาดเล็กที่มีการปฏิบัติที่ดี 3) จัดทำและตรวจสอบประสิทธิภาพแนวทาง การบริหารบริหารสถานศึกษายุคดิจิทัลของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่ โดยแบ่งการศึกษาเป็น 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1) การศึกษาปัญหาและปัจจัยที่เอื้อต่อการบริหารสถานศึกษายุคดิจิทัลสำหรับโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่ ประชากร คือ ผู้อำนวยการสถานศึกษา หรือ ผู้ที่ปฏิบัติราชการแทนผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่จำนวน 312 โรงเรียน เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ขั้นตอนที่ 2) การศึกษาการบริหารสถานศึกษายุคดิจิทัล ที่มีการปฏิบัติที่ดี กลุ่มผู้ให้ข้อมูล คือ 1) ผู้อำนวยการสถานศึกษาที่มีการจัดการบริหารสถานศึกษาในรูปแบบยุคดิจิทัล รวมไปถึงผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนต้นแบบ นวัตกรรมทางการศึกษา หรือ โรงเรียนที่มีผู้บริหารสถานศึกษา ครู นักเรียน ที่ได้รับรางวัลนวัตกรรมทางด้านการศึกษาที่มี วิทยฐานะชำนาญการพิเศษ ขึ้นไป 2) ศึกษานิเทศก์ วิทยฐานะชำนาญการพิเศษขึ้นไป ที่รับผิดชอบงานเกี่ยวกับ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา 3) ครูผู้สอน วิทยฐานะชำนาญการพิเศษ ขึ้นไปที่รับผิดชอบหรือเกี่ยวข้องกับ งานสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษา ที่ได้รับรางวัลนวัตกรรมทางด้านการศึกษา เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยสรุปแบบอุปนัย ขั้นตอนที่ 3) การจัดทำและตรวจสอบแนวทางการบริหารสถานศึกษายุคดิจิทัลของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอนย่อย คือ 3.1) การจัดทำแนวทางการบริหารสถานศึกษายุคดิจิทัลของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่ วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ สังเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาเอกสาร และนำข้อมูลขั้นตอนที่ 1 และขั้นที่ 2 มากำหนดเป็นร่างแนวทาง โดยผู้ศึกษาได้นำมาสรุปเป็นความเรียง 3.2) การตรวจสอบ ความเหมาะสม และความเป็นไปได้ ของร่างแนวทางการบริหารสถานศึกษายุคดิจิทัลของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้เชี่ยวชาญ ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบตรวจสอบความเหมาะสม และความเป็นไปได้ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาปัญหาและปัจจัยที่เอื้อต่อการบริหารสถานศึกษายุคดิจิทัลของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่ พบว่าปัญหาการบริหาร โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่มีปัญหาเป็นอันดับแรก คือ ด้านโครงสร้างการบริหารสถานศึกษาแห่งนวัตกรรม และลำดับสุดท้าย คือ ด้านภาวะผู้นำ ปัจจัยที่เอื้อต่อการบริหาร โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ลำดับที่ 1 คือ ปัจจัยด้านงบประมาณ และลำดับสุดท้าย คือ ปัจจัยด้านเทคโนโลยี ผลการศึกษาการบริหารสถานศึกษายุคดิจิทัลของโรงเรียนขนาดเล็กที่มีการปฏิบัติที่ดีพบว่า การจัดการโครงสร้างการบริหารสถานศึกษาด้านเทคโนโลยี มีกำหนดวิสัยทัศน์ไว้อย่างชัดเจน มีผู้รับผิดชอบงานที่เหมาะสม ผู้บริหารส่งเสริมให้มีการใช้เทคโนโลยีในสถานศึกษา โดยผู้บริหารเป็นต้นแบบในการใช้ สร้างความตระหนักให้เห็นถึงความสำคัญในการใช้เทคโนโลยี สร้างวัฒนธรรมการเปลี่ยนแปลง ในรูปแบบ PLC รวมถึงการให้การสนับสนุนการพัฒนาตนเองของครูและผู้เกี่ยวข้อง ร่วมกับหน่วยงานภายนอก สำหรับ แนวทางการบริหารสถานศึกษายุคดิจิทัลสำหรับโรงเรียนขนาดเล็กสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่ ที่สร้างขึ้นประกอบด้วย 1) วิธีการดำเนินการ และ 2) ข้อเสนอแนะการนำแนวทางไปใช้ 3) เงื่อนไขความสำเร็จ ส่วนผลการตรวจสอบแนวทางฯ ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
590232103 ธนัชชนม์ มาตระออ.pdf | 3.55 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.