Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73835
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสาลินี สันติธีรากุล-
dc.contributor.authorเพ็ญพิสุทธิ์ นาคเอมen_US
dc.date.accessioned2022-08-13T03:59:38Z-
dc.date.available2022-08-13T03:59:38Z-
dc.date.issued2021-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73835-
dc.description.abstractThis research aims reduce waste generated in the process of forming Japanese rice ball products by using QC tools. The data collection was in the range from January, 2020 to August, 2020. From the study, it was found that the wastes could be classified into 3 types which were non-stick seals, cracked seaweed sheets and cracked rice. Under the data analysis with pareto diagram, waste in term of non-stick seals was 2.40 % which is the highest amount leading to brainstorm for finding the root cause by using Why Why Analysis technique. Moreover, the experimental improvement plans to determine the factors affecting the loss balance were also investigated. The factors that directly affected to reduce non-stick seal wastes was a new temperature controller - speed of 2400 pc/Hr with setting temperature of 175/175- heater cleaner - tilted seaweed measurement sensor before entering the wrapper. When obtaining all factors, the improvement plans were examined by using 5W1H technique including Poka-Yoke in order to Quick responsesystem. The result of improvement showed that %Reject of non-stick seal wastes collecting data from September, 2020 to March, 2021 was 1.09% decreased when compared with before improvement that had %Reject of non-stick seal wastes collecting selected data from January, 2020 to August, 2020 of 2.40%. Additionally, in March, 2021, the %Reject of non-stick seal waste was decreased to 0.76% that was 68.29% reduction indicating that it stayed on the company target (0.80%) and according to the research goals. For the loss value of non-stick seal waste before improvement was about 45,000 baht per month, while after improvement, the loss value was reduced to 24,000 baht per month that was 46.67% reduction.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการลดของเสียในกระบวนการขึ้นรูปสินค้าข้าวปั้นญี่ปุ่นen_US
dc.title.alternativeDefective reduction in forming process of Japaness rice ball productsen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการผลิต-
thailis.controlvocab.thashการควบคุมกระบวนการผลิต-
thailis.controlvocab.thashการควบคุมการผลิต-
thailis.controlvocab.thashอุตสาหกรรมอาหาร-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้เป็นการศึกษากระบวนการทำงานของกระบวนการขึ้นรูปสินค้าข้าวปั้นญี่ปุ่นเพื่อลดของเสียที่เกิดขึ้นระบวนการผลิตโดยใช้หลักการศึกษางานและเครื่องมือคุณภาพ (QC Tools) เข้ามาช่วยในการดำเนินงานวิจัย โดยจากกรรวบรวมข้อมูลเดือน ม.ค.-ส.ค.63 พบว่าลักษณะของเสียที่พบมี 3 ลักษณะ ได้แก่ ชีลไม่ติด, แผ่นสาหร่ายแตก และข้าวแตก ซึ่งวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาความสำคัญของปัญหาโดยใช้แผนภูมิพาเรโต พบว่าลักษณะของเสียที่มียอดการสูญเสียสูงที่สุดคือ ซีลไม่ติด ซึ่งมีสัดส่วนของเสียต่อผลผลิตสูงถึงร้อยละ 2.40 จึงนำไปสู่การระดมสมอง (brainstorm) เพื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาโดยใช้เทคนิค Why Why Analysis วิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาที่เกิดขึ้น รวมถึงการพิสูจน์หาสาเหตุที่แท้จริง อีกทั้งจัดทำแผนการปรับปรุงทดลองเพื่อหาปัจจัยที่ส่งผลต่อการเกิดยอดสูญเสียพบว่าปัจจัยที่เหมาะสมที่ส่งผลต่อการลดของเสียการซีลไม่ติด คือ ชุดควบคุมอุณหภูมิตัวใหม่ -Speed 2400 pc/Hr ตั้งค่าอุณหภูมิ 175/175 - ทำความสะอาดหัวฮีตเตอร์ - ติด Sensor วัดสาหร่ายเอียงบริเวณก่อนเข้าเครื่องห่อ เมื่อได้ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กันจึงไปสู่ปรับปรุงการแก้ไข โดยใช้เทคนิค 5W 1 H โดยการจัดทำมาตรฐานการทำงานและปรับปรุงและอุปกรณ์ที่สามารถป้องกันการทำงานที่ผิดพลาด (Poka-Yoke) เพื่อให้มีการตอบสนองในทุกขั้นตอนการผลิต (Quick response system)หลังจากการดำเนินงานวิจัยพบว่าก่อนการปรับปรุง สัดส่วนของเสียที่ต้องทิ้ง กรณีซีลไม่ติดตั้งแต่เดือน ม.ค.-ส.ค. คือร้อยละ 2.40 เมื่อเทียบหลังการปรับปรุง พบว่าสัดส่วนของเสียที่ต้องทิ้งลดเหลือ ร้อยละ 0.73 ในเดือน พฤษภาคม 2564 สามารถลดลงสัดส่วนของเสียที่ต้องทิ้งคิดเป็น 68.29% ซึ่งได้ตามเป้าหมายของบริษัท (0.80% และเป็นไปตามเป้าหมายของงานวิจัย และด้านมูลค่ายอดสูญเสียกรณีสินค้าซีลไม่ติด ก่อนการปรับปรุง เฉลี่ย 45,000 บาทต่อเดือน หลังการปรับปรุงกระบวนพบว่ายอดสูญเสียลดลงเหลือ 24,000 บาทต่อเดือน ลดลงเฉลี่ย 20,000 บาทต่อเดือน คิดเป็น 46.67%en_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630632042 เพ็ญพิสุทธิ์ นาคเอม.pdf3.8 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.