Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73833
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิวิท เจริญใจ-
dc.contributor.authorณัฐนรี สายวรรณะen_US
dc.date.accessioned2022-08-13T03:27:43Z-
dc.date.available2022-08-13T03:27:43Z-
dc.date.issued2021-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73833-
dc.description.abstractThis research was to investigate the problem of an electronic part manufacturing industry which faced with the high inventory cost. Therefore, in this research, the improvement of inventory management was considered in order to reduce inventory cost. The process began with categorize the importance of material/equipment based on its requisition value using ABC classification analysis. In this study, the highest material/equipment requisition cost was selected to study which referred the material/equipment categorized in group A. The purchase order pattern of stable material/equipment requisition was assigned by economic order quantity (EOQ). Whereas, a dynamic lot sizing model (DLS) and silver meal method (SM) based on Heuristic’s rule were applied for purchase order pattern of unstable material/equipment requisition. For the lowest material/equipment requisition, the purchase order pattern of Two Bin System were implemented. From the study, with a purchase order improvement applied to 271 items of material/equipment in group A; from January, 2018 to December, 2019; it was seen that the inventory cost was calculated to be 89,094.32 baht per year compared with the total inventory cost of 212,621.17 baht per year before improvement.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการลดต้นทุนสินค้าคงคลังในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์en_US
dc.title.alternativeInventory cost reduction in electronic industryen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการจัดการ-
thailis.controlvocab.thashการจัดการคลังสินค้า-
thailis.controlvocab.thashคลังสินค้า-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยฉบับนี้เป็นการศึกษาปัญหาของบริษัทกรณีศึกษา ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมผลิตขึ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ และกำลังประสบปัญหาในเรื่องของต้นทุนในการจัดเก็บสินค้าที่มากเกินความจำเป็นงานวิจัยฉบับนี้ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการที่จะหาแนวทางการจัดการเพื่อปรับปรุงแก้ไข โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดต้นทุนสินค้าคงคลัง ขั้นตอนการดำเนินงานวิจัยเริ่มจากใช้ทฤษฎีการแบ่งกลุ่มความสำคัญ (ABC Classification Analysis) เพื่อจัดหมวดหมู่ความสำคัญตามมูลค่าการเบิกใช้งานของวัสดุอุปกรณ์แต่ละรายการ โดยงานวิจัยในครั้งนี้เลือกเน้นการจัดการที่วัสดุ/อุปกรณ์กลุ่ม A ที่มีการเบิกใช้งานมากที่สุด และทำการกำหนดรูปแบบการสั่งซื้อโดยใช้ระบบปริมาณการสั่งซื้อแบบประหยัด (Economic Order Quantity, EOQ) สำหรับการสั่งซื้อกรณีที่วัสดุ อุปกรณ์มีความต้องการคงที่ในทางตรงกันข้าม หากวัสดุอุปกรณ์มีความต้องการไม่คงที่จะเปลี่ยนรูปแบบคำสั่งซื้อด้วยวิธีตัวแบบปริมาณการสั่งซื้อแบบพลวัต ตั (Dynamic Lot Sizing Model, DLS) และเลือกใช้วิธีซิลเวอร์มีล (Silver Meal, SM) โดยใช้กฎฮิวริสติกส์ในการหาคำตอบ สำหรับวัสดุ/อุปกรณ์กลุ่ม B ทำการจัดการโดยใช้วิธีปริมาณการสั่งซื้อแบบประหชัด ส่วนวัสดุอุปกรณ์กลุ่ม C ที่มีมูลค่าการเบิกใช้งานน้อยจะใช้รูปแบบคำสั่งซื้อในระบบสองตะกร้า (Two Bin System) หลังจากวิเคราะห์ข้อมูลในอดีตและทำการปรับปรุงด้วยรูปแบบคำสั่งซื้อที่เหมาะสมกับวัสดุ/อุปกรณ์กลุ่ม A จำนวน 271 รายการ โดยใช้ข้อมูลตั้งแต่เดือนมกราคม 2561 ถึงเดือนธันวาคม 2562พบว่าต้นทุนรวมหลังการปรับปรุงอยู่ที่ 89,094.32 บาทต่อปี เทียบกับต้นทุนรวมของการจัดการวัสดุคงคลังแบบเดิมที่ 212,621.17 บาทต่อปีen_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630632007 ณัฐนรี สายวรรณะ.pdf6.26 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.