Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73801
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorShirley Worland-
dc.contributor.advisorTawei Chu-
dc.contributor.authorPraween Van Rysselbergeen_US
dc.date.accessioned2022-08-07T07:04:44Z-
dc.date.available2022-08-07T07:04:44Z-
dc.date.issued2021-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73801-
dc.description.abstractThis research focuses on traffic safety in Chiang Mai Thailand. Previous studies have focused on improving traffic safety within the Kingdom by approaching this issue as a vehicle optimization and infrastructural problem. However, rarely have traffic incidents been used as a lens to look into deeper, broader issues which question and aim to assess the problem of traffic accidents from a holistic point of view, encompassing multiple actors, all of whom influence this issue at different levels. This research challenges previously held viewpoints and conceptualizations of traffic issues that have used vehiclebased approaches in addressing traffic safety. The conceptual framework that guided this research is centered on the systems theory in order to understand the social nature and connections between actors and processes of traffic safety development. Moreover, the concepts of urban mobility explore mobility in the context of traffic within transport systems. In addition, the concept of the New Traffic Safety Paradigm is employed to analyze safety in the context of traffic issues. This research adopted a community-based participatory approach involving various actors who share both responsibility and ownership of the problem, which provides insight into current trends of urban mobility and traffic safety. Across the three field sites, utilizing purposive and snowballing techniques, four key informant and 13 individual interviews were conducted with scholars and advisory road safety representatives, traffic police officers, driving instructors, secondary schoolteachers, and government staff in the Land Transport Office. Four focus group discussions with a total of 24 participants were conducted: two with students of Chiang Mai and Mae Jo Universities, one with secondary schoolteachers of Nakornpayap International School and one with instructors from a Chiang Mai driving school. In addition, the researcher was invited to participate in six different consultation meetings dedicated towards traffic safety development resulting in rich data for thematic analysis. Findings highlighted a significant need for traffic safety education. It found that the development of traffic safety as experienced by road users is thwarted by an underdeveloped education system that fails to produce safety minded road users. Unsafe behavior is rampant among a rising number of road users which has put an increased strain on traffic police who are ill-equipped to deal with areas experiencing high amount of traffic. In order to respond to traffic issues, training, resources and funding are considered as crucial components that could enable actors to directly and effectively address local issues. However, a heavy dependency on Bangkok central administration for resources, as well as the prevalence of bloated bureaucracy were cited as obstacles for effective traffic safety implementation, resulting in very little proactive action and communication between actors. The study found that across all participant cohorts, there was a desire for a stronger mandate from the Royal Thai Government to address traffic safety. Therefore, this study recommends for the adoption of collaborative approach and the establishment of a multi-sectorial taskforce dedicated to respond to traffic issues and implement educational improvements that focus on the cultivation of a new generation of safety minded road users.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleTraffic safety as a social construct: exploring the interdependencies of policy, law enactment and individual behavior for developing a sustainable and safer traffic environment in Chiang Mai, Thailanden_US
dc.title.alternativeความปลอดภัยทางจราจรในฐานะโครงสร้างทางสังคม: การสำรวจความสัมพันธ์ระหว่างนโยบาย การตรากฎหมาย และพฤติกรรมส่วนบุคคล เพื่อสภาพแวดล้อมการจราจรที่ยั่งยืนและปลอดภัยในเชียงใหม่ ประเทศไทยen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashCommunication and traffic-
thailis.controlvocab.thashTraffic safety-
thailis.controlvocab.thashTraffic regulations-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยชิ้นนี้มุ่งประเด็นศึกษาไปที่ความปลอดภัยทางจราจรในจังหวัดเชียงใหม่ของประเทศไทยในขณะที่งานศึกษาวิจัยที่ผ่านมาให้ความสนใจไปที่การยกระดับความปลอดภัยบนท้องถนนภายในราชอาณาจักร โดยมองว่ามีความเกี่ยวข้องกับสภาพของยานพาหนะและระบบโครงสร้างพื้นฐานอย่างไรก็ตามอุบัติเหตุบนท้องถนนมักจะไม่ได้รับความสนใจและถูกมองข้ามไปในฐานะของตัวแปรที่ช่วยให้เกิดคำถามและประเมินปัญหาของอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นแบบองค์รวม ตลอดจนไม่มีการพิจารณาถึงตัวแสดงที่หลากหลายผู้ซึ่งเชื่อมโยงกับปัญหาในระดับที่ต่างกันออกไป งานวิจัยชิ้นนี้ท้าทายมุมมองและการสร้างกรอบความคิดเกี่ขวกับปัญหาด้านการจราจรเดิมที่ใช้วิธีการที่เกี่ยวข้องกับยานพาหนะในการเสริมสร้างความปลอดภัยทางจราจร โดยมีทฤษฎีระบบ (systems theory) เป็นศูนย์กลางของกรอบแนวคิดการวิจัย เพื่อช่วยให้เข้าใจถึงธรรมชาติทางสังคมและความเกี่ยวพันระหว่างตัวแสดงและกระบวนการการยกระดับความปลอดภัยทางจราจร นอกจากนี้ แนวคิดเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ในเมือง (urban mobility) จะช่วยตรวจสอบการเคลื่อนที่ในบริบทของการจราจรภายใต้ระบบการขนส่ง ยิ่งไปกว่านั้นกระบวนทัศน์ใหม่ด้านความปลอดภัยทางจราจร (New Traffic Safety Paradigm) จะช่วยวิเคราะห์ความปลอดภัยภายใต้บริบทของปัญหาการจราจรอีกประการงานวิจัยชิ้นนี้ประยุกต์ใช้กระบวนการแบบมีส่วนร่วมของชุมชนที่ประสานกลุ่มตัวแสดงที่หลากหลายผู้ซึ่งมีส่วนรับผิดชอบและเป็นเจ้าของปัญหาในขณะเดียวกัน และช่วยให้เกิดมุมมองเชิงลึกเกี่ยวกับแนวโน้มของการเคลื่อนที่ในเมืองและความปลอดภัยทางจราจรในปัจจุบัน ผู้วิจัยได้ทำการสำรวจพื้นที่ 3 แห่งด้วยวิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบลูกโซ่ (Ssnowbaling tcchniqucs) โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 4 คนและบุคคลที่เกี่ยวข้องจำนวน 13 คน อันประกอบไปด้วยนักวิชาการและที่ปรึกษาด้านความปลอดภัยบนท้องถนน เจ้าหน้าที่ตำรวจจราจร ผู้ฝึกสอนการขับรถ ครูโรงเรียนมัธยม และเจ้าหน้าที่จากสำนักงานขนส่งจังหวัดเชียงใหม่ นอกจากนี้ยังใช้วิธีการสนทนาแบบกลุ่มจำนวน 4 ครั้งร่วมกับผู้เข้าร่วมทั้งสิ้นจำนวน 24 คน โดยแบ่งออกเป็นนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่และมหาวิทยาลัขแม่โจ้จำนวน 2 ครั้ง ร่วมกับครูมัธยมจากโรงเรียนนานาชาตินครพายัพจำนวน 1 ครั้ง และร่วมกับผู้ฝึกสอนขับรถจากโรงเรียนสอนขับรถในจังหวัดเชียงใหม่จำนวน 1 ครั้ง นอกจากนี้ผู้วิจัยยังได้รับเชิญให้เข้าร่วมการประชุมด้านการพัฒนาความปลอดภัยทางจราจร อันนำมาซึ่งข้อมูลช่วยในการวิเคราะห์ที่สำคัญจำนวนมากผลการวิจัยพบว่าต้องมีการให้ความสำคัญกับการเผยแพร่ความรู้ด้านความปลอดภัยทางจราจร และเมื่ออ้างอิงจากประสบการณ์ของผู้ขับขี่ยานพาหนะยังพบว่า ความปลอดภัยทางจราจรถูกขัดขวาง โดยระบบการศึกษาอันล้าสมัยที่ไม่สามารถสร้างจิตสำนึกด้านการขับขี่อย่างปลอดภัยให้กับผู้ขับขี่ได้พฤติกรรมการขับขี่ที่ไม่ปลอดภัยรุนแรงขึ้นท่ามกลางจำนวนผู้ขับขี่ที่มีมากขึ้น อันเป็นสาเหตุที่ทำให้เจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรเกิดความตึงเครียดเพิ่มมากขึ้นเนื่องจากต้องรับผิดชอบและรับมือกับการจราจรที่หนาแน่นมากเกินไป ดังนั้นการฝึกอบรม ทรัพยากรที่จำเป็นและงบประมาณจึงถือเป็นองค์ประกอบที่สำคัญและจำเป็นที่ช่วยให้ตัวแสดงต่าง ๆ สามารถจัดการกับปัญหาในท้องที่ได้โดยตรงและมีประสิทธิภาพ อย่างไรก็ตามการพึ่งพาส่วนกลางอย่างกรุงเทพมหานครฯ ในด้านทรัพยากรและ ระบบราชการที่ซับซ้อน ล้วนเป็นอุปสรรคต่อการนำเอาแนวคิดด้านความปลอดภัยทางจราจรมาใช้ให้เกิดประสิทธิภาพ สิ่งที่เกิดขึ้นจึงเป็นเพียงการตื่นตัวเพียงเล็กน้อย และการสื่อสารอันน้อยนิดระหว่างตัวแสดงต่าง ๆ อย่างไรก็ตามงานวิจัยชิ้นนี้พบว่าผู้เข้าร่วมการวิจัยมีความต้องการให้มีคำสั่งที่เด็ดขาดจากรัฐบาลไทยด้านความปลอดภัยทางจราจร ดังนั้นคำแนะนำของงานวิจัยชิ้นนี้คือต้องมีการปรับใช้กระบวนการที่เป็นการสร้างความร่วมมือระหว่างกัน และก่อตั้งคณะทำงานที่มาจากหลายภาคส่วนเพื่อตอบสนองและจัดการกับปัญหาด้านการจราจร ตลอดจนพัฒนาการศึกษาที่ช่วยปลูกฝังจิตสำนึกของการขับขี่อย่างปลอดภัยให้กับผู้ขับขี่ยานพาหนะรุ่นใหม่ต่อไปen_US
Appears in Collections:SOC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620435901 ปวีณ วาน ไรเซลเบอเก้อ.pdf1.77 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.