Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73782
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จิราคม สิริศรีสกุลชัย | - |
dc.contributor.advisor | สุพรรณิกา ลือชารัศมี | - |
dc.contributor.author | ชัยปภัส ไวรักษ์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-08-06T10:05:56Z | - |
dc.date.available | 2022-08-06T10:05:56Z | - |
dc.date.issued | 2020-11 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73782 | - |
dc.description.abstract | This research was conducted out to investigate in spending behaviors of poor and almost poor people using welfare card, living in suburb of Chiangmai Province. Questionnaire was designed -research tool to obtain data amongst 200 participants (poor people 100 participants and almost poor people 100 participants, respectively). Frequency distribution, percentage, mean (average), independent t-test and chi – squared test were designated statistics for this research. The main findings showed that the poor people mostly were female, farmer is the main occupation, graduated from primary school, age ranging between 51 to 60 years old. On the other hand, the almost poor people were male, as a general contractor, graduated from primary school age ranging between 41 to 50 years old. In terms of registering and using welfare card, it was found that the poor and almost poor people have child, registered by family members or relatives through banks. The welfare card were sent to poor people in 2560 B.E.., also earlier sent to almost poor people in 2559 B.E.. Behaviors on using welfare card of poor and almost poor people demonstrated that it depended on their income. Mostly, it showed that their income was ranged between 10,001 to 15,000 baht. In terms of expense, more than 6,000 baht were usually spent on customer goods. If there was no welfare card, expense on customer goods will be reduced. In addition, they have spent on blue flag-shops (Thong-Fha Pracharath) within the community zone, especially spending on customer goods. This obviously reveals that the maximum amount of welfare card is still insufficient for purchasing customer goods. In case of insufficient money for buy goods and food, poor people mostly have never faced with this problem. In contrast, the almost poor people have faced with this situation; this was solved by borrowing some money from relatives and save money for necessary goods. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การเปรียบเทียบพฤติกรรมการใช้จ่ายผ่านบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ ระหว่างผู้ยากจนกับผู้เกือบจน: กรณีศึกษาเขตชานเมือง จังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | A Comparison of spending behavior through welfare card between the poor and near poor: a case study of the Suburban Area, Chiang Mai Province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | รัฐสวัสดิการ -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | ผู้รับสวัสดิการ -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | คนจน -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | เศรษฐศาสตร์ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบพฤติกรรมการใช้จ่ายผ่านบัตรสวัสดิการแห่งรัฐระหว่างผู้ยากจนกับผู้เกือบจน ในเขตชานเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือการวิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างประชาชนที่ถือบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ ในจังหวัดเชียงใหม่ จำนวนเป็นผู้ที่ยากจน จำนวน 100 ราย และผู้เกือบจน จำนวน 100 ราย สถิติที่ใช้ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าสถิติ Independent t-test และค่าสถิติ Chi – squared Test ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้ ข้อมูลลักษณะส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่างผู้ที่ยากจน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 51-60 ปี ประกอบอาชีพเกษตรกร จบการศึกษาในระดับประถมศึกษา ขณะที่กลุ่มตัวอย่างผู้ที่เกือบจน พบว่าส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุ 41-50 ปี อาชีพรับจ้างทั่วไป และจบการศึกษาในระดับประถมศึกษา ด้านการลงทะเบียนและการใช้บัตรสวัสดิการแห่งรัฐ พบว่า ทั้งผู้ที่ยากจนและผู้ที่เกือบจน มีบุตร/หลาน บุคคลในครอบครัวหรือญาติลงทะเบียนให้ ลงทะเบียนผ่านธนาคาร ทั้งนี้ผู้ยากจนส่วนใหญ่ได้รับบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ ในปี พ.ศ. 2560 ขณะที่ผู้ที่เกือบจนส่วนใหญ่ได้รับบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ ในปี พ.ศ. 2559 ข้อมูลพฤติกรรมการใช้จ่ายผ่านบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ พบว่า กลุ่มตัวอย่างทั้งผู้ที่ยากจนและเกือบจน มีพฤติกรรมที่สอดคล้องกันคือ ส่วนใหญ่มีรายได้ครัวเรือนเฉลี่ยต่อเดือนอยู่ที่ 10,001 – 15,000 บาท มีค่าใช้จ่ายของครัวเรือนต่อเดือน มากกว่า 6,000 บาท มีค่าใช้จ่ายของครัวเรือนในหมวดสินค้าอุปโภคบริโภคในครัวเรือนมากที่สุด หากไม่ได้รับเงินจากบัตรสวัสดิการแห่งรัฐก็จะลด ค่าใช้จ่ายในสินค้าอุปโภคบริโภคในครัวเรือนลง นอกจากนี้ทั้งกลุ่มตัวอย่างผู้ยากจนและเกือบจนส่วนใหญ่ใช้บริการร้านธงฟ้าประชารัฐที่อยู่ ในชุมชน สินค้าที่ซื้อจะเป็นหมวดสินค้าอุปโภคบริโภคในครัวเรือนเป็นหลัก ขณะเดียวกันกลุ่ม ตัวอย่างผู้ยากจนและเกือบจน มองว่าวงเงินที่ได้รับจากบัตร ยังไม่เพียงพอต่อการใช้จ่าย ซื้อสินค้า อุปโภค ซึ่งเมื่อไม่ซื้อสินค้าแล้วมักจะต้องจ่ายเงินส่วนตัวเพิ่มอีกประมาณ 500 บาท สำหรับปัญหาไม่ มีเงินซื้อข้าวกิน หรือไม่มีเงินซื้อสินค้าอุปโภคบริโภค กลุ่มตัวอย่างผู้ที่ยากจน ส่วนใหญ่ไม่เคยประสบ ปัญหา ขณะที่กลุ่มตัวอย่างผู้ที่เกือบจน เคยการประสบปัญหาและมีวิธีแก้ไขโดยขอยืมเงินจากญาติ ใช้ จ่ายอย่างประหยัดและลดรายจ่ายที่ไม่จำเป็น | en_US |
Appears in Collections: | ECON: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
611632020 ชัยปภัส ไวรักษ์.pdf | 1.45 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.