Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73779
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorขจรศักดิ์ โสภาจารีย์-
dc.contributor.authorยุมิ ชุ่มไชยพฤกษ์en_US
dc.date.accessioned2022-08-06T08:57:17Z-
dc.date.available2022-08-06T08:57:17Z-
dc.date.issued2021-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73779-
dc.description.abstractRoad construction of highway route no. 121 Chiang Mai bypass part1 is construction without closing traffic during construction, there is often particulate release of structural material emission from the engines powering the machinery and vehicles passing though the construction zone. This research will measure the amount of airborne PM2.5 and PM10 since November 1,2019 to November 1,2020 utilizing the DustBoy tool. There are 5 measurement stations aituated in the construction area and I measurement stations aituated in the Chiang Mai Government Center as a background station. The results of the study of PM2.5 and PM10 for 1 years ago found that PM level were higher in Rainy or Wet Season and high humidity than Summer or low humidity PM level were less as wellen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลของฤดูกาลที่มีต่อความเข้มข้นของอนุภาคมลสารในงานก่อสร้างทางหลวงหมายเลข 121 สายทางเลี่ยงเมืองเชียงใหม่ ตอน 1en_US
dc.title.alternativeSeasonal effect on concentration of particulate matter at road construction route No.121 Chiangmai bypass section 1en_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashมลพิษทางอากาศ-
thailis.controlvocab.thashการควบคุมฝุ่น-
thailis.controlvocab.thashฝุ่น-
thailis.controlvocab.thashถนน -- การออกแบบและการสร้าง-
thailis.controlvocab.thashทางหลวง -- การออกแบบและการสร้าง-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการก่อสร้างทางหลวงแผ่นดิน ทางหลวงหมายเลข 121 สายทางเลี่ยงเมืองเชียงใหม่ ตอน 1 ก่อสร้างโดยไม่ปิดการจราจรระหว่างการก่อสร้าง มีการปล่อยไอเสียจากเครื่องยนต์ที่สัญจรผ่านไปมาและเครื่องจักรที่ใช้ก่อสร้าง การวิจัยนี้ตรวจวัดปริมาณของ PM2.5 PM10 โดยทำการตรวจวัดตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2562 ถึงวันที่ 1 พฤศจิกายน 2563 ด้วยเครื่องมือ DusBoy โดยมีสถานีตรวจวัดอากาศในพื้นที่ก่อสร้างจำนวน 1 แห่ง และนอกพื้นที่ก่อสร้าง จำนวน 1 แห่ง โดยใช้สถานีที่ศูนย์ราชการจังหวัดเชียงใหม่ เป็นสถานีอ้างอิงผลการศึกษาปริมาณ PM2.5 และ PM10 ตลอดระยะเวลา 1 ปี พบว่า โดยภาพรวมแล้ว ปริมาณ PM ในฤดูร้อนจะสูงที่สุด รองลงมาคือฤดูหนาว และฤดูที่ปริมาณ PM น้อยที่สุดคือฤดูฝน หากพิจารณาจากความชื้น ฤดูที่มีความชื้นมาก ปริมาณ PM จะมีค่าน้อย และฤดูที่มีความชื้นน้อย จะมีปริมาณ PM มากตามไปด้วย ตามรายละเอียดการศึกษากันคว้าอิสระนี้en_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620632020 ยุมิ ชุ่มไชยพฤกษ์.pdf7.51 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.