Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73763
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศิริพงษ์ ลดาวัลย์ ณ อยุธยา | - |
dc.contributor.author | อรรถศาสตร์ พุทธวงศ์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-08-05T09:41:03Z | - |
dc.date.available | 2022-08-05T09:41:03Z | - |
dc.date.issued | 2021-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73763 | - |
dc.description.abstract | This study is intended to: 1) Study patterns, measures, methods of behavior development, obstacles and solutions. 2) Study patters, operational method of promoting education and mental development, enhancing physical and mental performance for inmates, problems, obstacles and solutions. 3) Study patterns, Methods for operating inmate vocational training, problems, obstacles and solutions. 4) Study the system and guidelines for preparing before releasing inmates of Fang District Prison, Chiang Mai Province. This includes cooperation between external agencies, both public and private during fiscal year 2017 - 2020, included problems, obstacles and solutions. This research uses a qualitative research methodology. Data collected by in-depth interviews The main informants consisted of 1) Staff of the Fang District Prison. 2) Various sectors, both the public and private sectors that are involved including 20 people. The results of the study showed that 1) Methods for correcting and developing habits Starting from the adoption of inmates to the prison Practice row regulations and follow prison regulations and rules. By using incentives, namely the right to stay, punish, and visit close relatives. The problem is when inmates are freed, Some people go back and make mistakes again. Therefore, there should be more monitoring measures. 2) Promotion of education and mental development, Illiterate inmates first provide basic education and then can receive secondary and bachelor's education as needed. 3) Vocational training for prisoners is organized by division for vocational training. There were lecturers from professional colleges and private companies teaching in the prisons. 4) Preparation before release, Private companies and relevant government agencies have cooperated well. Both in finance for occupation and finding work to do after the punishment. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การแก้ไข และพัฒนาพฤตินิสัยของนักโทษเด็ดขาด เรือนจำอำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Correction and rehabilitation of the absolute prisoners of Fang District Prison, Chiang Mai Province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | นักโทษ -- (ฝาง) เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | นักโทษ -- การปรับพฤติกรรม | - |
thailis.controlvocab.thash | นักโทษ -- การฝึกและอบรม | - |
thailis.controlvocab.thash | ทัณฑสถาน -- (ฝาง) เชียงใหม่ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษานี้มีวัดถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษารูปแบบ มาตรการ วิธีการพัฒนาพฤตินิสัย ปัญหาอุปสรรคและแนวทางการแก้ไข 2) ศึกษารูปเบบ วิธีการ การดำเนินงานด้านการส่งเสริมการศึกษาและพัฒนาจิตใจ เสริมสร้างสมรรถนะทางร่างกายและจิตใจให้กับผู้ต้องขัง ปัญหาอุปสรรคและแนวทางการแก้ไข 3) ศึกษา รูปแบบ วิธีการดำนินการด้านการฝึกวิชาชีพผู้ต้องขัง ปัญหา อุปสรรคและแนวทางการแก้ไข 4) ศึกษาระบบ และแนวทางการดำเนินการเตรียมความพร้อมก่อนปล่อยผู้ต้องขังของเรือนจำอำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ รวมถึงความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภายนอกทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ในช่วงปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 - พ.ศ. 2563 ตลอดจนปัญหา อุปสรรคและแนวทางในการแก้ไข การวิจัยนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research Methodology) เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก โดยผู้ให้ข้อมูลหลักประกอบด้วย 1) เจ้าหน้าที่ของเรือนจำอำเภอฝาง 2) ภาคส่วนต่างๆ ทั้งกาครัฐและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งสิ้น 20 คน ผลการศึกษาพบว่า 1) วิธีการในการแก้ไขและพัฒนาพฤตินิสัย เริ่มตั้งแต่รับตัวผู้ต้องขังเข้าสู่เรือนจำ ฝึกระเบียบแถวและปฏิบัติดามข้อบังคับและกฎระเบียบของเรือนจำ โดยใช้มาตรการจูงใจ คือ สิทธิในการพักโทษ ลดโทษ และการเยี่ยมญาติแบบใกล้ชิด ปัญหาคือ เมื่อพ้นโทษ บางส่วนกลับไปทำผิดซ้ำอีก จึงควรมีมาตรการติดตามมากขึ้น 2) การส่งเสริมการศึกษาและพัฒนาจิตใจ ผู้ต้องขังที่ไม่รู้หนังสือจะจัดให้การศึกษาขั้นพื้นฐานก่อน จากนั้นสามารถรับการศึกษาในระดับมัธยมและปริญญาตรี ได้ตามความต้องการ 3) การฝึกวิชาชีพมีการจัดแยกตามกองงานเพื่อฝึกวิชาชีพ มีวิทยากรจากวิทยาลัยการอาชีพและบริษัทเอกชนมาสอนในเรือนจำ ไม่พบปัญหาในการทำงานร่วมกัน 4) การเตรียมความพร้อมก่อนปล่อย ทั้งด้านเงินทุนในการประกอบอาชีพและหางานให้ทำหลังพ้นโทษ โดยได้รับความร่วมมือจากบริษัทเอกชนและหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องอย่างดี | en_US |
Appears in Collections: | POL: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
621932032 อรรถศาสตร์ พุทธวงศ์.pdf | 2.48 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.