Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73760
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชัยวุฒิ ตั้งสมชัย-
dc.contributor.advisorภาคภูมิ เพ็ชรประดับ-
dc.contributor.authorฆรวัณณ์ วิวัฒนาลำพงษ์en_US
dc.date.accessioned2022-08-04T10:36:39Z-
dc.date.available2022-08-04T10:36:39Z-
dc.date.issued2020-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73760-
dc.description.abstractThe Black-Scholes model (1973) is one of the most popular financial models for options pricing under -measure or the risk-neutral world. However, this model has been criticised about the pricing accuracy because the model assumptions are strictly. This cause in the development of other stochastic models. Heston model (1993) is a stochastic model which relaxes the constant volatility assumption and options pricing can be obtained in semi-closed form. The assumption of Heston model is that the underlying asset price has the volatility which varies on time which the behaviour of the volatility follows the Cox-Ingersoll-Ross model. This implies that there are 2 sources of risk, price risk and volatility risk. Moreover, in order to price the option, we must change the measure of Heston model to -measure which Heston (1993) recommended function for the sources of risk to substituting in an adapted process. In this work, we have found a condition for changing measure of the Heston model. It turns out that recommended the function by Heston is only one of infinite possible choices of this model. Consequently, the relationship between the market price of volatility risk and degree of risk aversion in the market is studied when the isoelastic utility function is issued the price. Finally, we use data of the S&P 500 Index and applying theory of Aït-Sahalia (2008) to estimate parameters of the Black-Scholes model and the Heston model, then compare these 2 models to find out which model is better for pricing options compare to the actual prices.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการประเมินมูลค่าออปชันบนดัชนีเอสแอนด์พี 500 โดยใช้แบบจำลอง เฮสตันด้วยพารามิเตอร์จากวิธีภาวะน่าจะเป็นสูงสุดen_US
dc.title.alternativePricing S&P 500 Index Options by Heston Model with Parameters from Maximum Likelihood Estimationen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashกระบวนการสโตแคสติค-
thailis.controlvocab.thashการเงิน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractแบบจำลอง Black-Scholes (1973) เป็นแบบจำลองที่มีชื่อเสียงอย่างมากในทางการเงินเพราะ เป็นแบบจำลองที่สามารถประเมินมูลคำของออปชั่นอย่างง่ายดายด้วยสูตรแบบปิดภายใต้เมเชอร์ Q หรือ ภายใต้โลกที่เปืนกลางต่อความเสี่ยง แต่แบบจำลองนี้ก็มีข้อถกเถียงถึงความถูกต้องของมูลค่า ออปชันเพราะภายใด้สมมติฐานที่เข้มงวด ทำให้มีการพัฒนาแบบจำลองสไดแคสติกแบบอื่นๆ มา เพื่อใช้ประเมินมูลค่าออปชัน โดยที่แบบจำลอง Heston (1993) ได้ลดข้อสมมติฐานเรื่องค่าความผัน ผวนมีค่าคงที่ลงและสามารถหาสูตรกึ่งปิดในการประเมินมูลคำออปชันได้ โดยกำหนดให้ราคา สินทรัพย์อ้างอิงมีค่าความผันผวบเป็นไปตามแบบจำลอง Cox-Ingersol-Ross ซึ่งกล่าวได้ว่า แบบจำลอง Heston นั้นมีที่มาของความเสี่ยง 2 แหล่ง คือความเสี่ยงจากราคา และความเสี่ยงจากค่า ความผันผวน เมื่อนำไปประเมินมูลค่าออปชันจะต้องแปลงเมชอร์ของแบบจำลองเป็นเมเชอร์ Q ซึ่ง Heston (1993) ได้แนะนำฟังก์ชันที่มาของความเสี่ยงเพื่อใช้แทนค่าใบ Adapled Process ในการศึกษานี้ได้ค้นพบว่าฟังก์ชันดังกล่าวเป็นเพียงหนึ่งในฟังก์ชันที่เป็นไปได้จากอนันต์ของ แบบจำลอง นอกจากนี้การศึกษานี้พิสูจน์หาสมการที่ Hcston (1993) ได้แนะนำผ่านความสัมพันธ์ กับ Iso-clastic Uiliy Funcion โดยพบว่าราคาของความเสี่ยงของค่าความผันผวนมีความสัมพันธ์กับระดับการหลีกหนีความเสี่ยงของนักลงทุนในตลาด และจากตัวเลือกของ Heston (1993) ทำให้ได้สูตรกึ่งปิดในการประเมินมูลค่าออปชัน การศึกษาส่วนสุดท้ายแสดงผลการประเมินมูลค่า ออปชันบนดัชนี S&P 500 เพื่อเปรียบเที่ยบว่าแบบจำลองใดให้การประเมินมูลค่ออปชันได้ ใกล้เคียงกับมูลค่าจริงในตลาดที่สุดen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611532193 ฆรวัณณ์ วิวัฒนาลำพงษ์.pdf45.65 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.