Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73758
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพจนา พิชิตปัจจา-
dc.contributor.authorสัชฌกร พิทาคำen_US
dc.date.accessioned2022-08-04T10:16:47Z-
dc.date.available2022-08-04T10:16:47Z-
dc.date.issued2021-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73758-
dc.description.abstractThis research aims to study the level of happiness at work and analyze the personal factors related to the happiness of staff working at Sansai-Mabawong Subdistrict Municipality, Saraphi District, Chiang Mai Province. The sample group in this research is all 53 officers performing duties in the Sansai-Mahawong Subdistrict Municipality. The researcher uses a questionnaire to collect data regarding the factors related to happiness at work and the level of happiness of the officers. The questionnaire questions focus on the happiness at work indicator, including health, relaxation, kindness, spirits, family, sociality, curiosity, financial health, and good work. The results of this study show that the level of happiness at work of the sample group is at a high level, with a score of 3.58 Specifically, the kindness dimension indicator has the highest level of happiness with a score of 3.98 Following the dimension of spirits and family indicators, both of them equally have a score of 3.77 On the other hand, the financial health dimension indicator has the lowest happiness level with a score of 3.02 The testing hypothesis results illustrate that the job characteristic factor is significantly related to the happiness at work of the sample group at the 0.05 level. However, other factors are not significantly correlated with the happiness of work of the staff. From the research results, the researcher has the suggestions as follows; (1) there should be an in-depth quantitative study, an analysis to test the means difference of variables with more than 2 groups of variables (3 or more groups). There should be a comparative study of happiness of working in other nearby sub-district municipalities, such as Nong Kwai Subdistrict Municipality or Hand Dong Subdistrict Municipality because their organization contexts are similar. In addition, the multiple regression analysis would be added by other researchers to study the relationship between multiple independent variables to better predict or explain the variation of the dependent variable. (2) There should be a qualitative in-depth study about the guidelines for enhancing the happiness at work for the staff of Sansai Mahawong Subdistrict Municipality, Saraphi District, Chiang Mai Province in the future.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความสุขในการทำงานของบุคลากรเทศบาลตำบลสันทรายมหาวงศ์ อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeHappiness in the working of Sansai Mahawong Municipality, Saraphi District, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashเทศบาลตำบลสันทรายมหาวงศ์-
thailis.controlvocab.thashความพอใจในการทำงาน -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashความสุข-
thailis.controlvocab.thashการทำงาน-
thailis.controlvocab.thashการปกครองท้องถิ่น -- เชียงใหม่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความสุขในการทำงาน; (2) วิเคราะห์ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีความสัมพันธ์กับความสุขในการทำงานของบุคลากรเทศบาลตำบลสันทรายมหาวงศ์ อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้คือ บุคลากรที่ปฏิบัติหน้าที่ในเทศบาลตำบลสันทรายมหาวงศ์ อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 53 ราย ผู้วิจัยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงปริมาณ โดยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความสุขในการทำงาน และระดับความสุขในการทำงานของบุคลากร ใน 9 ตัวชี้วัด ประกอบด้วย มิติที่ 1 สุขภาพดี มิติที่ 2 ผ่อนคลายดี มิติที่ 3 น้ำใจดี มิติที่ 4 จิตวิญญาณดี มิติที่ 5 ครอบครัวดี มิติที่ 6 สังคมดี มิติที่ 7 ไฝ่รู้ดี มิติที่ 8 สุขภาพเงินดี และ มิติที่ 9 การงานดี ผลการศึกษาพบว่า ระดับความสุขในการทำงานของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า โดยรวมมีความสุขในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.38 ซึ่งมิติที่ 3 น้ำใจดี มีค่าระดับความสุขอยู่มากที่สุด เท่ากับ 3.98 รองลงมาคือ มิติที่ 4 จิตวิญญาณดี และ มิติที่ 5 ครอบครัวดี ค่าระดับความสุขเท่ากับ 3.77 อย่างละเท่าๆ กัน และมิติที่ 8 สุขภาพการเงินดี มีค่าระดับความสุขน้อยที่สุด มีค่าเท่ากับ 3.02 และผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ปัจจัยด้านลักษณะงานมีความสัมพันธ์กับความสุขในการทำงานของกลุ่มตัวอย่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 และปัจจัยด้านอื่น ๆ ไม่มีความสัมพันธ์กับความสุขในการทำงานของบุคลากรเทศบาลตำบลสันทรายมหาวงศ์ อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ จากผลการวิจัย ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะ (1) ควรมีการศึกษาชิงปริมาณในเชิงลึก ได้แก่การวิเคราะห์ความแปรปรวน เป็นการวิเคราะห์เพื่อทดสอบความแตกต่างค่าเฉลี่ยของตัวแปรที่มีมากกว่า 2 กลุ่ม (ตั้งแต่ 3 กลุ่มขึ้นไป) ของปัจจัยส่วนบุคคลต่อระดับความสุขของบุคลากร และควรมีการศึกษาเปรียบเทียบความสุขของบุคลากรที่ปฏิบัติงานในเทศบาลตำบล ในเขตอำเภอเมืองหรืออำเภอใกล้เคียง เช่น เทศบาลตำบลหนองควาย เทศบาลตำบลหางดง เนื่องจากบริบทสภาพพื้นมีลักษณะคล้ายกัน อีกทั้งเพิ่มการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณ เพื่อเป็นการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระหลายตัวกับตัวแปรตาม 1 ตัว เพื่อศึกษาว่ามีตัวแปรอิสระตัวใดบ้างที่ร่วมกันทำนายหรือพยากรณ์ หรืออธิบายการผันแปรของตัวแปรตามได้ และ (2) ควรมีการศึกษาในเชิงคุณภาพ เกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาความสุขในการทำงานของบุคลากรเทศบาลตำบลสันทรายมหาวงศ์ อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อเป็นแนวทางสำหรับผู้ที่สนใจทำการศึกษาต่อไปในอนาคตen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621932027 สัชฌกร พิทาคำ.pdf1.21 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.