Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73748
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโพธิ จ้าวไพศาล-
dc.contributor.authorเกสรา วงศ์ไชยะen_US
dc.date.accessioned2022-07-31T05:10:59Z-
dc.date.available2022-07-31T05:10:59Z-
dc.date.issued2021-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73748-
dc.description.abstractThe objective of this research is to examine the productivity of garment processing using Quick Scan technique in a garment manufacturing plant. Quick Scan Technique is a supply chain diagnostic methodology which collects, and synthesis qualitative and quantitative data form a supply chain and to identify the change management opportunities in the supply chain. The Quick Scan Technique has been pioneered by the Cardiff Logistics System Dynamic Group ( LSDG) in collaboration with two of their industrial research partners, enables a heath check to be undertaken on a supply chain to identify and rank areas where improvement would yield most value. To implement the proposed technique, a garment manufacturing plant was selected in Northern Part of Thailand. The manufacturing plant is an OEM manufacturing plant for some leading global clothing brand. One of the main types of product produced by the company is long sleeves shirt, which accumulates to 70% of its production capacity. According to the study, 40 activities were identified and carried out during the production process from fabric inspection till packing. The purpose of the Quick Scan method is to understand and inspect the related raw materials, cost, and resources. In addition, this research identifies the advantages and disadvantages of using the recommended “Quick Hit” for process improvement in applying with the short-term and long-term strategy. Questionnaire data were collected from three main departments namely, marketing, production, and accounting. Statistical techniques were used to analysis and categorize the responses and opinion on supply chain management issues, such as, efficiency, cost, responsibility, reliability, flexibility, quality, and service level. According to the preliminary finding, reliability and cost is considered as one of the most important factors in the supply chain, followed by service with a score of 4.05, 4.01 and 3.81,respectively. Furthermore, production analysis was undertaken in conjunction with Value Stream Mapping (VSM). It was found that several non-value-added activities was presence in the production flow. The application of ECRS (Eliminate, Combine, Rearrange and Simplify) was applied to eliminate and reduce unnecessary process and to re-integrate production flow. VSM was then reapplied to analyse the result of improvement. Finally, the advantages and disadvantages of applying Quick Scan was discussed which offers a new dimension of diagnosing supply chain activities within the garment manufacturing plant in Thailand and ways it can compete with domestic and global market.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการประยุกต์ใช้เทคนิคควิกสแกนในการระบุปัญหาเพื่อเพิ่มผลิตภาพในโรงงานผลิตเครื่องนุ่งห่มen_US
dc.title.alternativeApplication of quick scan technique in identifying problems to increase productivity in garment manufacturing industryen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashอุตสาหกรรมการผลิต-
thailis.controlvocab.thashวิศวกรรมการผลิต-
thailis.controlvocab.thashเทคนิคควิกสแกน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางในการเพิ่มผลิตภาพกระบวนการผลิตเสื้อเชิ้ตโดยใช้ เทคนิค Quick Scan ของบริษัทอุตสาหกรรมผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูป และเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการผลิตเสื้อเชิ้ตด้วยการลดเวลานำ (Lead Time) ที่เป็นความสูญเปล่าในกระบวนการผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูป โดยทำการศึกษาในช่วงการผลิตที่เริ่มจากกิจกรรมตรวจผ้าจนถึงกิจกรรมการบรรจุ โดยมี 40 กิจกรรม จุดประสงค์ของวิธี (Quick Scan เพื่อให้เข้าใจและสามารถจัดทำเอกสาร ซึ่งเกี่ยวข้องกับวัตถุดิบ ข้อมูล ต้นทุน และการไหลของทรัพยากร พร้อมทั้งบ่งชี้จุดบกพร่องและแนะนำวิธีการแก้ไขอย่างรวดเร็ว (Quick Hi) เพื่อการพัฒนาและวางแผนกลยุทธ์ในระยะยาว ผู้วิจัยได้ทำการวิเคราะห์โดยใช้เทคนิค Quick Scan นี้ ศึกษากระบวนการ ไหลของการผลิตเสื้อเชิ้ตและได้วิเคราะห์กระบวนการขั้นตอนของการ ทำ Quick Scan ซึ่งมีการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับแนวคิดด้านการจัดการ โลจิสติกส์และโซ่อุปทานในการทำงานแผนกของตนเองและแผนกถัดไป จากการจำแนกตามความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวคิดประสิทธิภาพด้านการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ด้านต้นทุนการตอบสนอง ความน่าเชื่อถือ ความยืดหยุ่น คุณภาพ และระดับการบริการของแผนกตนเอง เท่ากับ 3.96 แผนกถัดไปเท่ากับ 4.06 จำนวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่าง จำแนกตามความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวคิดประสิทธิภาพ ด้านการจัดการ โลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ด้านต้นทุนของแผนกตนเอง เท่ากับ 4.01 แผนกถัดไป เท่ากับ 4.10 ด้านการตอบสนองแผนกตนเอง เท่ากับ 3.99 แผนกถัดไปเท่ากับ 4.07 ด้านความน่าเชื่อถือแผนกตนเอง เท่ากับ 4.05 แผนกถัดไปเท่ากับ 3.98 ด้านความยืดหยุ่นแผนกตนเองเท่ากับ 3.93 แผนกถัดไปเท่ากับ 4.10 ด้านคุณภาพแผนกตนเอง เท่ากับ 3.96 แผนกถัดไปเท่ากับ 4.14 ด้านการให้บริการแผนกตนเอง เท่ากับ 3.81 แผนกถัดไปเท่ากับ 3.95 จากภาพรวมจะเห็นว่าแนวคิดเกี่ยวกับโลจิสติกส์และโซ่อุปทานนั้นอยู่ในระดับสูงค่าเฉลี่ยที่แสดงความสำคัญสำหรับแผนกตนเอง คือ ความน่าเชื่อถือ และความสำคัญน้อยที่สุดคือการให้บริการ ค่าเฉลี่ยที่แสดงถึงความสำคัญสำหรับแผนกถัดไป คือ ด้านคุณภาพ และความสำคัญน้อยที่สุดคือการให้บริการ ทั้งนี้ยังใช้ ECRS ช่วยในการกำจัดงานที่ไม่จำเป็นออกการยุบรวมกันของขั้นตอน จัดการสายการผลิตใหม่ และหาวิธีการทำงานที่ง่ายขึ้น ร่วมกับการวิเคราะห์สายธารคุณค่า (Value Stream Mapping VSM) ช่วยในการวิเคราะห์กระบวนการไหลของวัตถุดิบในภาพรวมของทั้งกระบวนการรวมทั้งวิเคราะห์สายธารคุณค่าสถานะปัจจุบันและอนาคตยังช่วยในการจำแนกกิจกรรมที่ไม่จำเป็นและไม่มีคุณค่าออกจากกระบวนการ ซึ่งการดำเนินการในแต่ละกิจกรรมนั้นสามารถลดเวลานำ (Lead Time) พร้อมทั้งยังสามารถปรับเป็นแผนกลยุทธ์ในระยะยาวen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610631075 เกสรา วงศ์ไชยะ.pdf15.11 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.