Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73736
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเกวลิน คุณาศักดากุล-
dc.contributor.advisorปิลันธนา ฐาปนพงษ์วรกุล-
dc.contributor.authorณัฐธิดา เติมสังข์en_US
dc.date.accessioned2022-07-30T15:20:48Z-
dc.date.available2022-07-30T15:20:48Z-
dc.date.issued2021-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73736-
dc.description.abstractIn this study, stevia leaf spot is present in stevia production fields in Chiang Mai, Thailand. Identification based on morphology and molecular characters confirmed the isolates used identified as were Septoria steviae and Curvularia sp. Thirty-eight isolates of actinobacteria isolated from Rosaceae and herbal plants were used to evaluate their inhibitory effects on growth of leaf spot pathogen of stevia (Stevia rebaudiana Bertoni). Five isolates of actinobacteria as follows CINv1, CINv2, CINc1, COF1 and PRE5 were highly efficient inhibit the radial showed of these two fungal diseases and showed the percent inhibition of radial growth (PIRG) more than 75%. PRE5 had the highest PIRG (95.67 %) of Curvularia sp. For S. steviae, it was found that the 5 isolates of actinobacteria had a very high PIRG (100%). Stevia tissue culture plantlets were further proved for colonization by these 5 actinobacteria using re-isolation method. The results found that isolates CINv1, CINv2 and PRE5 successfully colonized leaf and stem tissue, followed by CINc1 and COF1. The growth promoting abilities of these selected actinobacteria tested in vitro and in vivo, COF1 was able to best promote the height. In addition, actinobacteria efficacy test for inhibiting the growth of stevia leaf spot disease in greenhouse conditions showed that stevia containing actinobacterial isolate COF1 induces resistance to both types of fungi. Tests the efficacy of the inhibition growth of leaf spot disease in vivo condition, COF1 induces resistance to both types of fungi with the best percent inhibition of disease incidence and the lowest disease severity index, followed by CINv2, CINc1, CINv1, and PRE5 respectively. The actinobacteria was identified as Streptomyces albus, based on morphology and molecular characters.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการควบคุมโรคใบจุดของหญ้าหวานด้วยเชื้อแอคติโนแบคทีเรียen_US
dc.title.alternativeControl leaf spot disease of stevia by Actinobacteriaen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashแอคติโนแบคทีเรีย-
thailis.controlvocab.thashโรคใบจุด-
thailis.controlvocab.thashหญ้าหวาน-
thailis.controlvocab.thashเชื้อรา-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้สามารถแยกเชื้อราสาเหตุโรคใบจุดของหญ้าหวานจากจังหวัดเชียงใหม่ได้ 2 ชนิดเมื่อจัดจำแนกโดยอาศัยลักษณะทางสัญฐานวิทยา และลักษณะทางอณูชีววิทยา พบว่าเชื้อราสาเหตุโรค คือเชื้อรา Septoria steviae และ Curvularia sp. เมื่อนำไปทดสอบประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญของเชื้อราโรคใบจุดของหญ้าหวานกับเชื้อแอคติโนแบคที่เรียที่ได้จากงานวิจัยที่ผ่านมาจำนวน 38 ไอโซเลท ที่แยกได้จากพืชวงศ์กุหลาบ และพืชสมุนไพร พบว่าเชื้อแอคติโนแบคที่เรียจำนวน 5 ไอโซเลท ได้แก่ CINv1, CINv2, CINc1, COF1 และ PRE5 มีประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญของเชื้อราสาเหตุโรค โดยมีเปอร์เซ็นต์การยับยั้งมากกว่า 75 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งไอโซเลท PRE5 มีเปอร์เซ็นต์ การยับยั้งเชื้อ Curvularia sp. มากที่สุด (95.67 เปอร์เซ็นต์) สำหรับเชื้อรา S. steviae พบว่าเชื้อแอคติโนแบคทีเรียทั้ง 5 ไอโซเลท มีเปอร์เซ็นต์การยับยั้งสูงมาก (100 เปอร์เซ็นต์) และเมื่อนำมาทดสอบการเข้าอยู่อาศัยในเนื้อเยื่อของเชื้อแอคติโนแบคที่เรียกับต้นหญ้าหวาน พบว่าไอโซเลท CINv1, CINv2 และ PRE5 สามารถแยกเชื้อกลับจากใบ และลำต้นได้ รองลงมาคือ CINc1 และ COF1 จากนั้นทดสอบการส่งเสริมการเจริญเติบโตของตันหญ้าหวาน พบว่า ไอไซเลท COF1 สามารถส่งเสริมการเจริญเติบโของต้นหญ้าหวานได้ดีที่สุดทั้งในสภาพปลอดเชื้อและสภาพโรงเรือน สำหรับการทดสอบประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญของเชื้อราสาเหตุโรคใบจุดของต้นหญ้าหวานในสภาพโรงเรือน พบว่าต้นหญ้าหวานที่ใส่เชื้อแอคติโนแบคที่เรียไอโซเลท COF1 สามารถชักนำให้เกิดความต้านทาต่อเชื้อราทั้ง 2 ชนิด โดยมีค่าการยับยั้งการเกิดโรคได้ดีที่สุด และดัชนีความรุนแรงของโรคน้อยที่สุด รองลงมาคือ ไอโซเลท CINv2, CINc1, CINv1 และ PRE5 ตามลำดับ เมื่อนำเชื้อแอคติโนแบคทีเรียทั้ง 5 ไอโซเลท มาจัดจำแนกโดยอาศัยลักษณะทางสัณฐานวิทยา และลักษณะทางอณูชีววิทยา พบว่าเป็นเชื้อแบคทีเรีย Streptomyces. albusen_US
Appears in Collections:AGRI: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600831033 ณัฐธิดา เติมสังข์.pdf6.35 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.