Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73732
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปฐมาวดี จงรักษ์-
dc.contributor.authorพานิตนันท์ มันกระโทกen_US
dc.date.accessioned2022-07-26T10:29:40Z-
dc.date.available2022-07-26T10:29:40Z-
dc.date.issued2021-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73732-
dc.description.abstractThis study aims to 1) investigate the work from home approach of the operating staff, Chiang Mai University during the Coronavirus Disease 2019 and 2) explore the guideline to develop the work from home approach for the operating staff of Chiang Mai University. This is a mix- method research. The quantitative data was collected from questionnaires done by 430 university staff when a semi-structured interview was done in 6 Faculty's Secretaries for qualitative data. The results show that the Work from Home approach affects the overall work-life balance at high level. Considering from many aspects, the Work from Home approach affects the intellectual level, time and family issue of the staff at high level respectively. The aspect of work and finance were also affected at fair level. The qualitative results show that 1. The Work from Home approach affected specifically for some types of work. 2. Regarding the family issue, it revealed that the Work from Home approach was advantage since the staff had more time for their families. 3. In term of time, the university staff had a betterment of time management and were not much affected by the Work from Home approach. 4. The Work from Home approach affected the financial issue due to the increasing of facility's usages. 5. With regards to the intellectual issue, the Work from Home approach provided the opportunity to learn on new things using new programs. It also revealed that (2) guideline to enhance the Work from Home approach are the financial support, the flexibility of work, the follow-up plan and achievement's evaluation. Moreover, learning and applying the efficient Work from Home approach from the private sector could also develop the work-life balance.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความสมดุลระหว่างชีวิตและการทำงานจากการปฏิบัติงานที่บ้านในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ของพนักงานสายปฏิบัติการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeWork-life balance due to work from home approach during Coronavirus Disease 2019 pandemic of operating staff of Chiang Mai Universityen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ -- การทำงาน-
thailis.controlvocab.thashมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ -- บุคลากร-
thailis.controlvocab.thashพนักงานมหาวิทยาลัย -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashโควิด-19 (โรค) -- เชียงใหม่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาผลจากการปฏิบัติงานที่บ้านต่อพนักงานสายปฏิบัติการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 2) ศึกษาแนวทางในการพัฒนาการปฏิบัติงานที่บ้านของพนักงานสายปฏิบัติการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงผสม คือ เริ่มจากการวิจัยเชิงปริมาณ โดยเก็บข้อมูลจากพนักงานสายปฏิบัติการ สังกัดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จำนวน 430 คน และการวิจัยเชิงคุณภาพ แหล่งข้อมูลคือเลขานุการคณะ จำนวน 6 คน ใช้วิธีการเก็บข้อมูล โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่งโครงสร้าง โดยผลการศึกษาเชิงปริมาณพบว่าภาพรวมการปฏิบัติงานที่บ้านของพนักงานสายปฏิบัติการมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ส่งผลต่อความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทำงานในระดับมาก เมื่อพิจารณาแต่ละองค์ประกอบพบว่าพนักงานมีความเห็นว่าการปฏิบัติงานที่บ้านส่งผลในระดับมากต่อด้านสติปัญญา เวลา ครอบครัว ตามลำดับ และส่งผลในระดับปานกลางในด้านการทำงาน และการเงิน ผลการศึกษาเชิงคุณภาพ พบว่า ด้านการทำงาน การปฏิบัติงานที่บ้านมีความเหมาะสมกับงานบางประเภท 2.ด้านครอบครัว การปฏิบัติงานที่บ้านส่งผลดีต่อด้านครอบครัวทำให้บุคลากรมีเวลาใกล้ชิดครอบครัวมากขึ้น 3.ด้านเวลา การปฏิบัติงานที่บ้านส่งผลให้พนักงานสามารถจัดการเวลาได้ดีขึ้นไม่ได้ส่งผลกระทบด้านเวลามากนัก 4.ด้านการเงิน การปฏิบัติงานที่บ้านส่งผลต่อค่าใช้จ่ายสาธารณูปโภคบางรายการที่เพิ่มสูงขึ้น 5.ด้านสติปัญญา การปฏิบัติงานที่บ้านส่งผลให้พนักงานได้เรียนรู้การใช้โปรแกรมการทำงานใหม่ๆ และแนวทางในการพัฒนาการปฏิบัติงานที่บ้าน คือ การสนับสนุนงบประมาณ การยืดหยุ่นการทำงาน ระบบติดตามผลดำเนินงาน ศึกษารูปแบบการทำงานเอกชนมีนโยบายที่ชัดเจนen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621932018 พานิตนันท์ มันกระโทก.pdf11.5 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.