Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73731
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorตุลยา ตุลาดิลก-
dc.contributor.advisorสุวรรณา เลาหะวิสุทธิ์-
dc.contributor.authorวลัยพร เนตรกูลen_US
dc.date.accessioned2022-07-26T10:27:37Z-
dc.date.available2022-07-26T10:27:37Z-
dc.date.issued2020-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73731-
dc.description.abstractThe objective of this study was to explore relationship between employee expenses and firm performance of SET100 companies listed on The Stock Exchange of Thailand. Data was collected from Setsmart database and annual registration statement (Form 56-1) published on the website of The Stock Exchange of Thailand from year 2014 to 2018. In all, there were 77 companies listed in The Stock Exchange of Thailand and 385 data were collected. The main independent variable was employee expenses; the dependent variables were return on assets and income; and the control variables were size of a business, age of a business, amount of income per employee, income growth, and the total-debt-to-total-assets ratio. According to the analysis done by descriptive statistics, the results shows that the return on assets were 7.59% with 100.2 billion baht income per year and 3.91 billion baht employee cost per year. In addition, by using multiple regression analysis with 5 years overall data, it suggested that the employee expenses were related to the performance of the companies (including average return on assets and income) at a significance level of 0.01. There was a positive correlation which meant that the more companies spent on employee expenses, the better the company performance will be. Moreover, it was found that the size of a business and the total-debt-to-total-assets ratio had negative correlation with company performance that measured by return on assets. Also, it was suggested that the size of a business had positive correlation with company performance that measured by income while the age of business, amount of income per employee, and the total-debtto- total-assets ratio had negative correlation with company performance that measured by income at a significance level of 0.01.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างค่าใช้จ่ายพนักงานกับผลการดำเนินงานของบริษัท ในกลุ่มเซ็ต ๑๐๐ ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeRelationship Between employee expenses and firm performance of SET100 companies listed on The Stock Exchange of Thailanden_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย-
thailis.controlvocab.thashบริษัท -- ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน-
thailis.controlvocab.thashอัตราผลตอบแทน-
thailis.controlvocab.thashการบัญชี-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างค่าใช้จ่ายพนักงานกับผลการ ดำเนินงานของบริษัทในกลุ่มเซ็ต ๑๐๐ ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยเก็บ ข้อมูลจากระบบฐานข้อมูลของ Setsmart และแบบแสดงรายการข้อมูลประจำปี (แบบ 56-1) ที่เผยแพร่ บนเว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยระหว่างปี พ.ศ. 2557 ถึงปี พ.ศ. 2561 บริษัทจด ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยจำนวน 77 บริษัท ได้ข้อมูลรวมทั้งสิ้น 385 ข้อมูล ซึ่งตัว แปรอิสระ ได้แก่ ค่าใช้จ่ายพนักงาน ตัวแปรตาม ได้แก่ อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวมและรายได้ ส่วนตัวแปรควบคุม ได้แก่ ขนาดของกิจการ อายุของกิจการ จำนวนรายได้ต่อพนักงาน อัตราการ เติบโตของรายได้ และอัตราหนี้สินรวมต่อสินทรัพย์รวม จากการวิเคราะห์ด้วยสถิติเชิงพรรณนา พบว่า อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวมโดยเฉลี่ยคิด เป็นร้อยละ 7.59 มีรายได้เฉลี่ยปีละ 100.20 พันล้านบาท และมีค่าใช้จ่ายพนักงานเฉลี่ยปีละ 3.91 พันล้านบาท ในขณะที่ผลการวิเคราะห์สมการถดถอยแบบพหุคูณ โดยใช้ข้อมูลในภาพรวม 5 ปี พบว่า ค่าใช้จ่ายพนักงานมีความสัมพันธ์กับผลการดำเนินงาน (อันได้แก่ อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม และรายได้) อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01 โดยมีความสัมพันธ์ในทิศทางบวก แสดงว่าเมื่อบริษัทมีการ จ่ายค่าใช้จ่ายพนักงานเพิ่มขึ้นส่งผลให้ผลการดำเนินงานดีขึ้นด้วย นอกจากนี้ผลการศึกษายังพบว่า ขนาดของกิจการ และอัตราหนี้สินรวมต่อสินทรัพย์รวม มีความสัมพันธ์ในทิศทางลบกับผลการ ดำเนินงานที่วัดจากอัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม แต่ขนาดของกิจการมีความสัมพันธ์ในทิศ ทางบวกกับผลการดำเนินงานที่วัดจากรายได้ ส่วนอายุของกิจการ จำนวนรายได้ต่อพนักงาน อัตรา หนี้สินรวมต่อสินทรัพย์รวมมีความสัมพันธ์ในทิศทางลบกับผลการดำเนินงานที่วัดจากรายได้ ที่ระดับ นัยสำคัญ 0.01en_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611532172 วลัยพร เนตรกูล.pdf816.7 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.