Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73719
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปฐมาวดี จงรักษ์-
dc.contributor.authorทศวรรษ ปัญญาแก้วen_US
dc.date.accessioned2022-07-25T10:12:54Z-
dc.date.available2022-07-25T10:12:54Z-
dc.date.issued2021-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73719-
dc.description.abstractThis study aims to 1) examine the Coronavirus Disease 2019 pandemic management through community network in Lamphun province 2) explore factors supporting the community based management and 3) investigate the mutual collaboration between government and civic sector regarding the Coronavirus Disease 2019 pandemic management. The author is interested in the shutdown procedure done by the community network that was strictly applied in the villages, Takienpom subdistrict, Tunghuachang district, Lamphun province. This is the qualitative study that related document is researched and twenty key informants were interviews. The results reveal that 1) there are 3 steps of the shutdown process to prevent the Coronavirus Disease 2019 which are the decision making step, the management step and the shutdown step. 2) The duration of the village shutdown was about 2 months which was decided and conducted by the community network ie. the local government, the civic sector and the religious sector. The 3 factors affecting the successfulness of this management are ethnical factor, religion and belief. Moreover, 3) the 3 main networks that collaborate on the village shutdown are the network from the local government at the district level and provincial level, the network from community such as the village Headmen, the Village Health Volunteers (VHV), and the network from the civic sector such as the group of housewives in the village, the local people and the religious leader.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการจัดการปัญหาการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โดยเครือข่ายชุมชนในจังหวัดลำพูนen_US
dc.title.alternativeCoronavirus disease 2019 pandemic management through community network in Lamphun Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashโควิด-19 (โรค) -- ลำพูน-
thailis.controlvocab.thashโควิด-19 (โรค) -- การป้องกันและควบคุม-
thailis.controlvocab.thashการติดเชื้อไวรัสโคโรนา-
thailis.controlvocab.thashชุมชน -- ลำพูน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้มีวัดถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษากระบวนการของชุมชนในการป้องกันโรคโควิด-19 ของจังหวัดลำพูน 2) ศึกษาปัจจัยที่ส่งเสริมให้ชุมชนในจังหวัดลำพูนสามารถจัดการตนเองได้ และ3) เพื่อศึกษาความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคประชาชนในการป้องกันโรคโควิด-19 ในจังหวัดลำพูน โดยผู้ศึกษามีความสนใจการจัดการปัญหาการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โดยเครือข่ายชุมชนในจังหวัดลำพูนในพื้นที่ตำบลตะเคียนปม อำเภอทุ่งหัวช้าง จังหวัดลำพูน ที่ได้นำมาตรการที่เข้มงวดกว่ามาตรการที่รัฐกำหนดมาบังคับใช้ คือ การปิดหมู่บ้าน โดยการศึกษาในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ จากการศึกษาเอกสารและการสัมภาษณ์เชิงลึก โดยมีผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 20 คน ผลการศึกษาพบว่า 1) กระบวนการปิดหมู่บ้านเพื่อป้องกันโรคโควิด-19 มี 3 ขั้นตอน คือกระบวนการตัดสินใจปิดหมู่บ้าน กระบวนการจัดการระหว่างปิดหมู่บ้าน และกระบวนการตัดสินใจเปิดหมู่บ้าน 2) การปิดหมู่บ้านมีระยะเวลาประมาณ 2 เดือน ซึ่งเป็นการตัดสินใจและดำเนินการร่วมกันของเครือข่ายในชุมชน ทั้งภาครัฐ ภาคประชาชน และภาคศาสนา โดยมีปัจจัยในชุมชนที่ส่งเสริมให้มาตรการดังกล่าวประสบผลสำเร็จ 3 ปัจจัย คือ ปัจจัยด้านพื้นที่ ปัจจัยด้านทรัพยากรภายในชุมชนและปัจจัยด้านชาติพันธุ์ ศาสนา และความเชื่อ และ 3) บทบาทและความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคประชาชน มี 3 เครือข่ายที่มีบทบาทและร่วมมือกันในกระบวนการปิดหมู่บ้าน คือ เครือข่ายภาครัฐ เช่น หน่วยงาน จังหวัด อำเภอ และกาครัฐในพื้นที่ เป็นต้น เครือข่ายภาครัฐในชุมชน เช่น ผู้นำชุมชน กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม ) เป็นต้น และเครือข่ายภาคประชาชน เช่น กลุ่มสตรีแม่บ้าน ประชาชนในพื้นที่ และผู้นำทางศาสนา เป็นต้นen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621932007 ทศวรรษ ปัญญาแก้ว.pdf3.68 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.