Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73664
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนงลักษณ์ เฉลิมสุข-
dc.contributor.advisorบังอร ศุภวิทิตพัฒนา-
dc.contributor.authorไพลิน ถึงถิ่นen_US
dc.date.accessioned2022-07-19T10:00:17Z-
dc.date.available2022-07-19T10:00:17Z-
dc.date.issued2020-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73664-
dc.description.abstractPoor quality of sleep in pregnant women affects pregnant women’s physical and psychological health as well as fetal health. The purpose of this quasi-experimental research was to examine the effect of the Sleep Enhancement Program on sleep quality among pregnant women. The participants were 52 healthy pregnant women at 29 - 36 gestational weeks receiving antenatal care at Hua Hin Hospital, Prachuap Khiri Khan province from June 2020 to September 2020. The participants were selected according to the inclusion criteria and evenly distributed into the control and experimental groups, matched according to gestational age, pre-experimental sleep quality score and body mass index. The experimental group received the Sleep Enhancement Program with routine care and the control group received only routine care. The research intervention instruments consisted of 1) the Sleep Enhancement Program, 2) a tape for creating guided imagery developed by Jariya Jantaepa (2009) and 3) the Track Record Form on the phone and LINE application. The research instruments included the Personal Data Record and the Thai version of the Pittsburgh Sleep Quality Index by Sitasuwan, Bussaratid, Ruttanaumpawan, and Chotinaiwattarakul (2014). Data were analyzed using descriptive statistics, independent t-test, Fisher's exact test, and chi-square test. The results of the research revealed that: 1. The sleep quality of the experimental group was significantly better than that of the control group (t = 6.98, p < .001). 2. The experimental group had a statistically significantly higher proportion of good sleep quality than the control group (p < .001). The results of this study suggest that health care providers can use the sleep enhancement program with routine care to improve sleep quality among pregnant women.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลของโปรแกรมส่งเสริมการนอนหลับต่อคุณภาพการนอนหลับในสตรีตั้งครรภ์en_US
dc.title.alternativeEffect of the sleep enhancement program on sleep quality among pregnant womenen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashการนอนหลับ-
thailis.controlvocab.thashสูติศาสตร์-
thailis.controlvocab.thashการผดุงครรภ์-
thailis.controlvocab.thashการตั้งครรภ์ -- ภาวะแทรกซ้อน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractคุณภาพการนอนหลับที่ไม่ดีในสตรีตั้งครรภ์ส่งผลกระทบต่อภาวะสุขภาพด้านร่างกายและด้าน จิตใจของสตรีตั้งครรภ์ และยังส่งผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของทารกในครรภ์อีกด้วย วัตถุประสงค์ ของการวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้ เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมการนอนหลับต่อคุณภาพการนอน หลับในสตรีตั้งครรภ์ กลุ่มตัวอย่างคือ สตรีตั้งครรภ์ปกติ อายุครรภ์ระหว่าง 29 - 36 สัปดาห์ จำนวน 52 คน ที่เข้ารับบริการฝากครรภ์ในโรงพยาบาลหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ตั้งแต่เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2563 ถึง เดือนกันยายน พ.ศ. 2563 คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตามคุณสมบัติที่ กำหนดไว้ และแบ่งเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 26 คน โดยให้มีความใกล้เคียงกันของ อายุครรภ์ คะแนนคุณภาพการนอนหลับก่อนทดลอง และค่าดัชนีมวลกาย กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรม ส่งเสริมการนอนหลับร่วมกับการดูแลตามปกติ และกลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามปกติ เครื่องมือที่ ใช้ในการดำเนินการวิจัย คือ 1) โปรแกรมส่งเสริมการนอนหลับ 2) เทปบันทึกเสียงการสร้างจินตภาพ ที่พัฒนาโดย จริยา จันทรเทพา (2552) และ 3) แบบบันทึกการติดตามทางโทรศัพท์ร่วมกับแอปพลิเคชันไลน์ เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล คือ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล และแบบประเมินคุณภาพการ นอนหลับพิตส์เบิร์กฉบับภาษาไทย โดย ตุลยา สีตสุวรรณ, สนทรรศ บุษราทิจ, พิมล รัตนาอัมพวัลย์, และ วัฒนชัย โชตินัยวัตรกุล (Sitasuwan, Bussaratid, Ruttanaumpawan, & Chotinaiwattarakul, 2014) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา สถิติทดสอบทีอิสระ สถิติการทดสอบของฟิชเชอร์ และสถิติ ทดสอบไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า 1. คุณภาพการนอนหลับของกลุ่มทดลองดีกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 6.98, p < .001) 2. กลุ่มทดลองมีสัดส่วนคุณภาพการนอนหลับที่ดีมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) ผลการวิจัยครั้งนี้เสนอแนะว่า บุคลากรทางสุขภาพสามารถใช้โปรแกรมส่งเสริมการนอนหลับร่วมกับการดูแลตามปกติเพื่อส่งเสริมคุณภาพการนอนหลับในสตรีตั้งครรภ์en_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611231038 ไพลิน ถึงถิ่น.pdf3.07 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.