Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73639
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศรัญญา กันตะบุตร-
dc.contributor.authorปภาวดี ดารงมณีen_US
dc.date.accessioned2022-07-16T07:10:14Z-
dc.date.available2022-07-16T07:10:14Z-
dc.date.issued2021-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73639-
dc.description.abstractThe objective of this research was to study the job embeddedness of temporary employees of Research Institute for Health Sciences, Chiang Mai University (RIHES, CMU). The data were collected by using the questionnaire on 3 factors of job embeddedness which were Fit, Links and Sacrifice and sub-factors consisting of 1) Fit to organization 2) Fit to community 3) Links to organization 4) Links to community 5) Organization-related sacrifice and 6) Community-related sacrifice. The questionnaires were distributed to the entire population of the study; 122 employees of the Research Institute for Health Sciences, Chiang Mai University. The data analysis was conducted by using frequency, percentage and means. Most questionnaire respondents were single females aged 31-40 years old with highest education of bachelor’s degree. Most of them are practitioner staff with average monthly income between 10,001-20,000 baht and more than 6 years of employment period. The study results indicated that the level of the 6 sub-factors of job embeddedness of RIHES employees were 1) Fit to community 2) Fit to organization 3) Links to organization 4) Community-related sacrifice 5) Organizational-related sacrifice and 6) Links to community, respectively. When analyzing the differences between practitioner staff and professional staff, the results were slighlly different. The professional staff had average level of the 6 sub-factors of job embeddedness as Fit to community, followed by Fit to organization, Community-related sacrifice, Links to organization, Organization-related sacrifice and Links to community, respectively. As for practitioner staff, they had average level of the 6 sub-factors of job embeddedness as Fit to community, followed by Fit to organization, Links to organization, Community-related sacrifice, Organization-related sacrifice, and Links to community, respectively. This implied that the reason why the employees have continued working at the institute was not only because of the organization factors or the job factors, but other factors also make them continue to work with the organization accordingly.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความฝังตรึงในงานของลูกจ้างชั่วคราวในสังกัดสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeJob embeddedness of temporary employees in Research Institute for Health Sciences, Chiang Mai universityen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashความผูกพันต่อองค์การ-
thailis.controlvocab.thashความภักดีของลูกจ้าง-
thailis.controlvocab.thashลูกจ้างชั่วคราว-
thailis.controlvocab.thashมหาวิทยาลัยเชียงใหม่.สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความฝังตรึงในงานของลูกจ้างชั่วคราวในสังกัดสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยเก็บข้อมูลจากประชากรทั้งหมดคือ ลูกจ้างชั่วคราวที่ทำงานในสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จำนวน 122 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ แบบสอบถามวัดระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยความฝังตรึงในงาน 3 ปัจจัย คือ ความลงตัว พันธะ และสิ่งที่ต้องสละ แต่ละปัจจัยแบ่งออกเป็น 2 ด้าน รวมเป็น 6 ด้าน คือ 1) ปัจจัยด้านความลงตัวในองค์กร 2) ความลงตัวในชุมชน 3) พันธะในองค์กร 4) พันธะในชุมชน 5) สิ่งที่ต้องสละเกี่ยวกับองค์กร 6) สิ่งที่ต้องสละเกี่ยวกับชุมชน สถิติเชิงพรรณนาที่ใช้ได้แก่ ความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) และค่าเฉลี่ย (Mean) ผลการศึกษาพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 31-40 ปี สถานภาพ โสด ระดับการศึกษาปริญญาตรี เป็นลูกจ้างชั่วคราวสายปฏิบัติการ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,001-20,000 บาท ระยะเวลาในการปฏิบัติงานมากกว่า 6 ปี มีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับความฝังตรึงในงานในภาพรวม ตามลำดับดังนี้ ด้านความลงตัวกับชุมชน ด้านความลงตัวกับสถาบันฯ ด้านพันธะกับสถาบันฯ ด้านสิ่งที่ต้องสละหากออกจากชุมชนที่อาศัยอยู่ ด้านสิ่งที่ต้องสละหากลาออกจากสถาบันฯ และด้านพันธะกับชุมชน เมื่อพิจารณาแยกตามสายงานพบว่า ลูกจ้างชั่วคราวในสังกัดสถาบันฯ ทั้งสายวิชาชีพและสายปฏิบัติการ มีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับความฝังตรึงในงานแตกต่างกัน โดยลูกจ้างชั่วคราวสายวิชาชีพมีค่าเฉลี่ยระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับความฝังตรึงในงานด้านความลงตัวกับชุมชนมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านความลงตัวในสถาบันฯ ด้านสิ่งที่ต้องสละหากออกจากชุมชนที่อาศัยอยู่ ด้านพันธะกับสถาบันฯ ด้านสิ่งที่ต้องสละหากลาออกจากสถาบันฯ และด้านพันธะกับชุมชน ตามลำดับ ส่วนลูกจ้างชั่วคราวสายปฏิบัติการ มีค่าเฉลี่ยระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับความฝังตรึงในงานด้านความลงตัวกับชุมชนมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านความลงตัวในสถาบันฯ ด้านพันธะกับสถาบันฯ ด้านสิ่งที่ต้องสละหากออกจากชุมชนที่อาศัยอยู่ ด้านสิ่งที่ต้องสละหากลาออกจากสถาบันฯ และด้านพันธะกับชุมชนตามลำดับ ซึ่งจากผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าถูกจ้างชั่วคราวไม่ได้ทำงานให้กับองค์กรด้วยเหตุผลด้านองค์กรหรืองานเพียงอย่างเดียว แต่ยังมีปัจจัยด้านอื่นๆ ที่ไม่เกี่ยวข้องกับองค์กรหรืองานที่ทำให้บุคลากรในการศึกษาครั้งนี้ ยังคงทำงานให้กับองค์กรต่อไปen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
591532289 ปภาวดี ดำรงมณี.pdf1.46 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.