Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73633
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเรนัส เสริมบุญสร้าง-
dc.contributor.authorณัฐชัย ชำนิการขายen_US
dc.date.accessioned2022-07-16T05:51:26Z-
dc.date.available2022-07-16T05:51:26Z-
dc.date.issued2021-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73633-
dc.description.abstractThis independent study is to examine the marketing mix affecting consumers in Chiang Mai Province towards buying big bikes. An online questionnaire was used to collect data. The population of this study was consumers who were working-aged population, students, or whose domicile was Chiang Mai Province, and who bought, possessed, and rode big bikes. As the number of the population was unknown, the Cochran formula was used to calculate a sample size of 385 with a 95% confidence level. They were selected by convenience and snowball samplings. A QR code was used to distribute questionnaires to respondents in big bike clubs, big bike showrooms, motorcycle parts shops, and big bike ride events. The data acquired was analyzed by descriptive statistics including the frequency, percentage, mean, and by inferential statistics to analyze the difference of the marketing mix elements affecting the consumers in Chiang Mai Province towards the purchase of big bike motorcycles. They were categorized by age, average monthly income, and the price range of big bikes. One-Way ANOVA was utilized to test hypotheses from H01 to H03. Scheffe’s method was also used to test pairwise differences of the subfactors. The results of the study showed that the majority of the respondents were single males aged between 26 and 30 years old. They possessed a bachelor’s degree and had their own business. Their salary range was between 20,001 and 30,000 baht. They commonly used Honda’s naked bikes and the bikes they bought were brand new. Concerning behaviors of the consumers in Chiang Mai Province towards the purchase of big bike motorcycles, it revealed that most respondents bought a big bike to ride as a hobby. They made their own decision to buy a big bike when they had enough budget. In addition, they purchased their big bikes from authorized dealer showrooms after visiting showrooms to see big bikes, making queries about them directly to motorcycle dealers, and then used the information they had to make a purchase decision by making comparisons with other models of other brands. Information sources used for comparisons were from social media, such as Facebook, Line, Instagram, and Twitter. They spent one to three months making a decision. An installment payment was chosen to pay for their big bike motorcycles. The most important reason to make a purchase decision was a motorcycle body appearance they liked. Regarding the marketing mix factors affecting the consumers in Chiang Mai Province towards the purchase of big bike motorcycles, it was found out that every factor in the marketing mix had an effect on a buying decision at a high level. The factors having the highest average were product, place, promotion, and price, respectively. With reference to product, the first three subfactors with the highest average were a beautiful shape, attractive identity, and showrooms where maintenance, motorcycle inspection, and after-sales services were provided with full resources and staff with quick repairing and maintenance services. And they could provide high-quality, durable and reliable. On the subject of price, the first three subfactors with the highest average were reasonable price compared to the quality of the product, reasonable price compared to its competitors’ products, and prices and promotions clearly shown at the point of purchase displays. Concerning place, the first three subfactors with the highest average were the availability of showrooms in big provinces in all regions, the reputation of dealers, and the availability of customer lounges. With regard to promotion, the first three subfactors with the highest average were friendly and service-minded staff, knowledgeable staff who could give recommendations appropriately, and advertisements on social media, for example, Facebook, Line, Instagram, and Twitter. According to the results of hypothesis testing, the respondents of different ages gave importance to product and promotion differently. As for price and place, they gave no difference between both factors. The respondents with different average monthly incomes and who had big bikes at different price ranges gave importance to every marketing mix factor differently.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อผู้บริโภคในจังหวัดเชียงใหม่ในการซื้อรถจักรยานยนต์บิ๊กไบค์en_US
dc.title.alternativeMarketing mix affecting consumers in Chiang Mai province towards buying big bikesen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการตลาด-
thailis.controlvocab.thashการตลาด -- การตัดสินใจ-
thailis.controlvocab.thashจักรยานยนต์-
thailis.controlvocab.thashผู้ขับขี่จักรยานยนต์ -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashบิ๊กไบค์-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อผู้บริโภคในจังหวัดเชียงใหม่ในการซื้อรถจักรยานยนต์บิ๊กไบค์ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามออนไลน์ ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผู้บริโภคที่มาทำงาน ศึกษาเล่าเรียน หรือมีภูมิลำเนาอาศัยอยู่ในจังหวัดเชียงใหม่ ที่เคยซื้อ ครอบครอง และ ใช้งานรถจักรยานยนต์บิ๊กไบค์ ซึ่งไม่ทราบจำนวนประชากรที่แน่ชัด จึงใช้สูตรการคำนวณหาขนาดกลุ่มตัวอย่างของ W.G. Cochran โดยกำหนดระดับความเชื่อมั่นที่ 95% ได้ขนาดของกลุ่มตัวอย่างจำนวน 385 ราย ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบตามความสะดวกร่วมกับการสุ่มตัวอย่างแบบลูกโซ่ โดยการแจกคิวอาร์โค้ดเพื่อเชิญให้สแกนเข้ามาทำแบบสอบถาม ตามชมรมผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์บิ๊กไบค์ โชว์รูมผู้จัดจำหน่ายรถจักรยานยนต์บิ๊กไบค์ ร้านจำหน่ายอุปกรณ์สำหรับขับขี่รถจักรยานยนต์ และการจัดงานกิจกรรมการขับขี่รถจักรยานยนต์บิ๊กไบค์ และทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วย ความถี่ ร้อยละ และค่าเฉลี่ย และใช้สถิติเชิงอนุมาน ในการวิเคราะห์ความแตกต่างของส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อผู้บริโภคในจังหวัดเชียงใหม่ในการซื้อรถจักรยานยนต์บิ๊กไบค์ ซึ่งจำแนกตามกลุ่มผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ อายุ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน และระดับราคาของรถ โดยใช้สถิติอ้างอิง One-Way ANOVA เพื่อการทดสอบสมมติฐาน H01 ถึง H03 และทดสอบความแตกต่างของระดับปัจจัยย่อยเป็นรายคู่ ด้วยวิธีการของเชฟเฟ่ (Scheffe) ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุ 26 - 30 ปี สถานภาพโสด มีการศึกษาระดับปริญญาตรี ประกอบธุรกิจส่วนตัว มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 20,001 - 30,000 บาท นิยมใช้รถประเภท Naked ยี่ห้อ Honda และรถที่ซื้อเป็นรถใหม่ พฤติกรรมผู้บริ โภคในจังหวัดเชียงใหม่ในการซื้อรถจักรยานยนต์บิ๊กไบค์ พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่นั้นซื้อรถจักรยานยนต์บิ๊กไบค์มาเพื่อใช้ขับขี่เป็นงานอดิเรกในเวลาว่าง ทำการตัดสินใจซื้อด้วยตัวเอง จะซื้อเมื่อมีทุนทรัพย์เพียงพอที่จะซื้อ ผู้บริโภคซื้อรถมาจากผู้แทนจำหน่ายอย่างเป็นทางการ (โชว์รูม) โดยการ ไปดูตัวรถพร้อมทั้งสอบถามข้อมูลจากผู้จำหน่ายโดยตรงแล้วจึงนำมาพิจารณาก่อนทำการตัดสินใจซื้อ มีการเปรียบเทียบกับรุ่นอื่นของตรายี่ห้ออื่น ใช้แหล่งข้อมูลข่าวสารจากโซเชียลมีเดีย (Facebook Line Instagram Twitter) ระยะเวลาในการตัดสินใจ 1 - 3 เดือนชำระเงิน โดยการผ่อนชำระ และเหตุผลที่สำคัญที่สุดที่ตัดสินใจเลือกซื้อคือ จากรูปลักษณ์ของตัวรถที่ถูกใจ ส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อผู้บริโภคในจังหวัดเชียงใหม่ในการซื้อรถจักรยานยนต์บิ๊กไบค์ พบว่า มีผลต่อการตัดสินใจซื้อในระดับมากทุกปัจจัย โดยปัจจัยที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ รองลงมาคือ ปัจจัยด้านการจัดจำหน่าย ปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด และปัจจัยด้านราคา ตามลำดับ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ปัจจัยย่อยที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 ลำดับแรก ได้แก่ รูปทรงสวยงามมีเอกลักษณ์สะดุดตา โชว์รูมมีบริการดูแลซ่อมแซม ตรวจเช็คสภาพ และบริการหลังการขาย มีทรัพยากรและบุคลากรที่พร้อม สามารถให้บริการบำรุงรักษา ซ่อมแซมแก้ไขได้อย่างรวดเร็ว และมีความทนทานและคุณภาพที่เชื่อถือได้ ปัจจัยด้านการจัดจำหน่าย ปัจจัยย่อยที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 ลำดับแรก ได้แก่ มีศูนย์บริการกระจายอยู่ตามจังหวัดใหญ่ ครบทุกภาคของประเทศ ชื่อเสียงของตัวแทนจำหน่าย และมีห้องพักรับรองลูกค้าที่เข้ามาใช้บริการ ปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด ปัจจัยย่อยที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 ลำดับแรก ได้แก่ พนักงานขายอัธยาศัยดี เต็มใจให้บริการ พนักงานขายมีความรู้ สามารถแนะนำสินค้าได้เป็นอย่างดี และการโฆษณาทางสื่อออนไลน์ เช่น Facebook Line Instagram Twitter ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามที่มีอายุแตกต่างกัน ให้ความสำคัญกับปัจจัยส่วนประสมการตลาดด้านผลิตภัณฑ์และด้านการส่งเสริมการตลาดแตกต่างกัน ส่วนปัจจัยด้านราคาและด้านการจัดจำหน่าย ให้ความสำคัญไม่แตกต่างกัน ผู้ตอบแบบสอบถามที่มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนแตกต่างกัน และใช้งานรถจักรยานยนต์บิ๊กไบค์ที่มีระดับราคาแตกต่างกัน ให้ความสำคัญกับปัจจัยส่วนประสมการตลาดแตกต่างกับทุกด้านen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
591532070 ณัฐชัย ชำนิการขาย.pdf3.73 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.