Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73626
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุศรา ลิ้มนิรันดร์กุล-
dc.contributor.advisorศิริสัญลักษณ์-
dc.contributor.advisorชาติชาย เขียวงามดี-
dc.contributor.authorทิพวัลย์ ธรรมขันแก้วen_US
dc.date.accessioned2022-07-13T00:57:03Z-
dc.date.available2022-07-13T00:57:03Z-
dc.date.issued2020-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73626-
dc.description.abstractThis study reports on 1) the basic social and economic information of farmers who participated in the Longan large-scale project and 2) the factors that influenced the participating farmers' adoption of technology for large-scale longan farming in Mae Tha district, Lamphun province. This study employed a sequential exploratory mixed methods design. The qualitative research applied and using discussion collected focus group from that included 9 agricultural workers and I related official. The quantitative workers 220. Descripts statistics applied including frequencies, percentages, averages, standard deviations, and logistic regression analyses. The qualitative data analyzed using content analysis. The research found that 59.5 percent of farmers who participated in the project were female, 44.5 percent were between 51 and 60 years old, and 50.5 percent had completed grade 4 of primary school (pratom 4). The farmers had an average debt of 145,420.90 baht and an average yearly income from planting longan of 126,404.55 baht. Farmer adopted in large-scale longan production in using technology with 80.5 percent and non-adopted of introduced technologies 19.5 percent. The multiple regression analysis showed that there were 5 variables significantly influenced the farmers' adoption of technology (α = 0.05) : amount of debt, number of information channels, attitude toward longan large-scale project, opinion of support from an agricultural promotion institute, and problems faced by the farmers who participated in the project. Five of these variables had a positive impact on the farmers' adoption of technology. Famers have been in debt tended to accepted in technologies in longan production. However, farmers that received information along many channels were more likely to adopted technology than those who received information from a single channel. Regarding farmers' attitudes, farmers with a positive attitude toward the project had a greater chance of adopting technology than those whom with a negative attitude. Regarding farmers' opinions of institutional support, farmers who agreed with support from an agricultural promotion institute were more likely to adopt the technology. Finally, regarding obstacles, most farmers who participated in the project met with many obstacles in producing longan, which led to greater adoption of technology when compared to farmers who met with few obstacles or didn't have any problems in production. In the end, even with technology that helps with planting large plots of longan, farmers still have certain labor limitations, such as trimming the longan trees into the right shape or determining the grade of the longan fruit.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับเทคโนโลยีของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการลำไยแปลงใหญ่ ในอำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูนen_US
dc.title.alternativeFactors affecting farmers’ technology adoption in longan large-scale project in Mae Tha District, Lamphun Provinceen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashลำไย -- การปลูก-
thailis.controlvocab.thashลำไย -- การปลูก -- แม่ทา (ลำพูน)-
thailis.controlvocab.thashลำไย -- ลำพูน -- การผลิต-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาข้อมูลพื้นฐานทางสังคม และเศรษฐกิจของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการลำไยแปลงใหญ่ 2) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับเทคโนโลยีของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการลำไยแปลงใหญ่ในพื้นที่อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน การวิจัยเป็นแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) ในรูปแบบเชิงสำรวจเป็นลำดับ (Sequential Exploratory) ซึ่งผู้วิจัยดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพก่อน โดยการเก็บข้อมูลได้จากการประชุมกลุ่ม (Focus Group) คณะกรรมการเกษตรกร จำนวน 9 ราย และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องจำนวน 1 ราย แล้วจึงดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณในภายหลัง โดยเก็บข้อมูลจากเกษตรกรกลุ่มตัวอย่างจำนวน 220 ราย การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอย โลจิสติค ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการเป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 59.5 โดยมีอายุระหว่าง 51 - 60 ปี คิดเป็นร้อยละ 44.5 จบการศึกษาระดับประถมศึกษาปีที่ 4 คิดเป็นร้อยละ 50.5 มีหนี้สินการเกษตรเฉลี่ย 145,420.90 บาท รายได้ที่ได้จากการปลูกลำไยเฉลี่ย 126,404.5 บาทต่อปี จากการศึกษาการยอมรับเทคโนโลยีของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการลำไยแปลงใหญ่ พบว่าเกษตรกรจำนวนมากยอมรับเทคโนโลยีอยู่ขั้นไปปฏิบัติ ร้อยละ 80.5 และเกษตรกรบางส่วนที่ยังไม่ยอมรับเทคโนโลยีไปปฏิบัติ ร้อยละ 19.5 ผลการวิเคราะห์ถดถอยพหุ พบว่า มี 5 ตัวแปรที่มีผลต่อการยอมรับเทคโนโลยีของเกษตรกรอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ α = 0.05 ได้แก่ จำนวนหนี้สินการเกษตร จำนวนช่องทางในการรับข่าวสาร ทัศนคติของเกษตรกรต่อโครงการลำไยแปลงใหญ่ ความคิดเห็นของเกษตรกรที่มีต่อการสนับสนุนจากหน่วยงานส่งเสริมการเกษตร ปัญหา และอุปสรรคของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการลำไยแปลงใหญ่ โดยที่ตัวแปรมีผลในเชิงบวกทั้งหมด ซึ่งอธิบายได้ว่าเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการลำไยแปลงใหญ่ที่มีจำนวนหนี้สินการเกษตรมีผลต่อการยอมรับเทคโนโลยีจากโครงการลำไยแปลงใหญ่ไปปฏิบัติ แต่มีโอกาสยอมรับเทคโนโลยีไปปฏิบัติเท่าเดิม ส่วนเกษตรกรที่ได้รับข่าวสารหลายช่องทางมีโอกาสยอมรับเทคโนโลยีจากโครงการลำไยแปลงใหญ่ไปปฏิบัติมากกว่าเกษตรกรที่ได้รับข่าวสารช่องทางเดียว ด้านของทัศนคติ การที่เกษตรกรมีทัศนคติที่ดีต่อโครงการจะมีการนำเทคโนโลยีไปปฏิบัติมากกว่าเกษตรกรที่มีทัศนคติที่ไม่ดีต่อโครงการ ด้านความคิดเห็นต่อการสนับสนุนของหน่วยงาน เกษตรกรที่เห็นด้วยต่อการสนับสนุนจากหน่วยงานส่งเสริมการเกษตร มีโอกาสยอมรับเทคโนโลยีจากโครงการลำไยแปลงใหญ่ไปปฏิบัติมากกว่าเกษตรกรที่ไม่เห็นด้วย และด้านปัญหาอุปสรรค การที่เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการลำไยแปลงใหญ่ส่วนใหญ่ที่พบปัญหาในการผลิตลำไยมากจะเกิดการยอมรับมากกว่าเกษตรกรที่พบปัญหาในการผลิตน้อยหรือไม่พบเลย อย่างไรก็ตามแม้ว่ามีเทคโนโลยีที่ส่งเสริมในการปลูกลำไยแปลงใหญ่ แต่เกษตรกรยังมีข้อจำกัดด้านแรงงาน เช่น การตัดแต่งกิ่งในรูปแบบฝาชีงายและการคัดเกรดลำไย ซึ่งเป็นข้อจำกัดของเกษตรen_US
Appears in Collections:AGRI: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610831015 ทิพวัลย์ ธรรมขันแก้ว.pdf3.64 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.