Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73613
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณัฐวิทย์ พรหมมา-
dc.contributor.authorนราเศรษฐ์ นะติกาen_US
dc.date.accessioned2022-07-10T07:52:17Z-
dc.date.available2022-07-10T07:52:17Z-
dc.date.issued2021-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73613-
dc.description.abstractThe purpose of this research is to estimate the constitutive parameters of polyethylene foam which is hyperelastic material. The mechanical response obtained by uniaxial compressive testing, ASTM D3574 type C, Standard specification for testing. Three specimens are cylinder shape with 65 millimeters of diameter and are 25 millimeters in length. The relation between compressive force and stretch is investigated. Then the test data is calculated to the relation in stress and strain. The determination of constitutive parameters is identified by the curve fitting method with 8 hyperelastic models. first, the curve fitting method is chosen in the case of a small strain (0 –10 percent of strain) to compare model efficiency to predict the mechanical response, then determine the maximum percent strain which hyperelastic models can describe the mechanical response. Finally, calculation shear modulus and Young’s modulus from constitutive parameter which obtained form curve fitting. The comparison is agreeable between test data and hyperelastic model. As a result, the hyperelastic model can efficiently clarify the mechanical response under the uniaxial compressive case.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการวิเคราะห์หาค่าพารามิเตอร์วัสดุของฉนวนกันความร้อนชนิดโพลีเอทิลีนโฟมด้วยวิธีการปรับเส้นโค้งen_US
dc.title.alternativeEvaluation of material parameters of polyethylene foam insulator using curve fittingen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashโพลีเอทธีลีนโฟม-
thailis.controlvocab.thashฉนวนความร้อน-
thailis.controlvocab.thashวัสดุไฮเปอร์อิลาสติก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractในงานวิจัยนี้มุ่งเน้นเพื่อศึกษาวิธีการหาสัมประสิทธิ์ค่าคงที่แบบจำลองของวัสดุโพลีเอทธีลีนโฟมที่สอดคล้องกับพฤติกรรมความเค้นและความเครียดภายใต้การทดสอบการกด ซึ่งเป็นวัสดุที่มีพฤติกรรมเชิงกลเป็นวัสดุประเภทไฮเปอร์อิลาสติก โดยความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นและความเครียดได้รับจากการทดสอบการกดในแนวแกนเดียว โดยกระบวนการการทดสอบจะใช้มาตรฐาน ASTM D3574 type C ชิ้นทดสอบมีลักษณะรูปร่างเป็นทรงกระบอกเส้นผ่านศูนย์กลาง 65 มิลลิเมตร ความหนา 25 มิลลิเมตร จำนวน 3 ชิ้นต่อหนึ่งชุดการทคสอบ ทดสอบทั้งสิ้น 10 ชุดการทดสอบ จากนั้นทดสอบการกดในแนวแกนเดียวได้ข้อมูลความสัมพันธ์ระหว่างแรงกดและระยะกด นำข้อมูลที่ได้จากการทสอบนำมาหาความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นและความเครียด จากนั้นเข้าสู่กระบวนการการหาค่าสัมประสิทธิ์ด้วยวิธีการการปรับเส้นโค้ง (Curve Fitting) กับแบบจำลองไฮเปอร์อิลาสติกทั้งหมด 8 แบบจำลองโดยการปรับเส้น โค้งเลือกการปรับกับข้อมูลในช่วง small strain (0 - 10 เปอร์เซ็นต์ความเครียด) เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพของแบบจำลองในการทำนายพฤติกรรมของความเค้นและความเรียด และทำการปรับเส้นโค้งกับแต่ละแบบจำลองเพื่อหาความเครียดสูงสุดที่แบบจำลองสามารถอธิบายพฤติกรรมของความเค้นความเครียดได้ และคำนวณค่าโมดูลัสแรงเฉือนพบว่ามีความสอดคล้องกัน แสดงให้เห็นว่าแบบจำลองไฮเปอร์อิลาสติกสามารถอธิบายพฤติกรรมเชิงกลภายใต้ภาระการทดสอบการกดในแนวแกนเดียวของวัสดุโพลีเอทธีลีนโฟมได้เป็นอย่างดีen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590631082 นราเศรษฐ์ นะติกา.pdf8.6 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.