Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73597
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อดิศักดิ์ ธีรานุพัฒนา | - |
dc.contributor.author | ศศิธร ประพฤตินอก | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-07-09T10:27:52Z | - |
dc.date.available | 2022-07-09T10:27:52Z | - |
dc.date.issued | 2020-11 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73597 | - |
dc.description.abstract | This study aimed to improve pathology service efficiency of N Health Pathology Company Limited, Chiang Mai branch by applying the quality control circle, in which the 7-steps of QC Story theory i.e. 1) plan and problem definition, 2) understand situation and set target, 3) plan activity, 4) analyze causes, 5) consider and implement countermeasure, 6) check results, and 7) standardize and establish control were included. Research tools were 1) time-function mapping, 2) flow process chart, 3) Gantt chart, 4) bar chart, 5) fish-bone diagram, and 6) check sheet. Data obtained were analyzed by brainstorming method and content analysis. Statistics applied in this study included percentage and mean. Findings revealed that the key problem that was possible to be solved was the delayed report which was submitted after the stated deadline. Before the improvement was implemented, only 71- 86% of reports could be submitted according to the scheduled time. These percentages were under the expected target that was set at 90%. According to the problem exploration as conducted by the use of linear programming, of which the results were recorded in a form of time-function mapping, it was found that before the functions of laboratory were improved, the pathology service, starting from receiving a case to delivering testing report, excluding the queue time, consumed 122.8 minutes in total. Based upon the brainstorming to analyze causes by using the fish-bone diagram and the Pareto chart, the results demonstrated that the delay came from 3 main causes i.e. 1) tools and devices, 2) operation process, and 3) proficiency of operating staff. Within the period of three months, these causes brought along the repeated works at 186 times. However, after the functions of laboratory were improved by 1) replacing the old tissue processor with the automatic one and increasing number of embedding molds, 2) replacing the hand slide-staining with the automatic slide-stainer, and 3) organizing more training workshops for staff, the time spent on the pathology service was reduced to 110.98 minutes. In addition, the repeated works were also decreased to 96 times or 52.0%. Consequently, the ratio of report submission according to the scheduled time increased to 94.6% and could achieve the expected target. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การปรับปรุงประสิทธิภาพการให้บริการของห้องปฏิบัติการพยาธิวิทยากายวิภาค บริษัท เอ็น เฮลท์ พยาธิวิทยา จำกัด สาขาเชียงใหม่ โดยใช้กิจกรรมกลุ่มคุณภาพ | en_US |
dc.title.alternative | Improvement of pathology service efficiency of N Health Pathology Company Limited, Chiang Mai Branch by applying quality control circle | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | บริษัท เอ็น เฮลท์ พยาธิวิทยา | - |
thailis.controlvocab.thash | การควบคุมคุณภาพ | - |
thailis.controlvocab.thash | กลุ่มสัมพันธ์ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการให้บริการของห้องปฏิบัติการพยาธิ วิทยากายวิภาค บริษัท เอ็น เฮลท์ พยาธิวิทยา จำกัด สาขาเชียงใหม่ โดยใช้กิจกรรมกลุ่มคุณภาพ ซึ่งผู้ ศึกษาได้ประยุกต์ใช้ QC Story 7 ขั้นตอน ประกอบด้วย 1) การค้นหาปัญหาและคัดเลือกหัวข้อ 2) การ สำรวจสภาพปัจจุบันและตั้งเป้าหมาย 3) การวางแผนการแก้ไข 4) การค้นหาสาเหตุ 5) การดำเนินการ แก้ไข 6) การตรวจสอบผลการแก้ไข และ 7) การสร้างมาตรฐาน โดยเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ 1) แผนผังการไหลของกิจกรรมตามหน้าที่และเวลา 2) แผนภูมิกระบวนการไหล 3) แผนภูมิแกนท์ 4) แผนภูมิแท่ง 5) แผนผังก้างปลา และ 6) ใบตรวจสอบ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการระดมสมองและการ วิเคราะห์เนื้อหา สถิติที่ใช้ได้แก่การหาค่าร้อยละ และค่าเฉลี่ย ผลการศึกษาพบว่าปัญหาที่สำคัญโดยมีความเป็นไปได้ในการแก้ไขคือ การรายงานผลที่ไม่ ทันตามระยะเวลาที่กำหนด ซึ่งก่อนการปรับปรุงจำนวนครั้งที่สามารถรายงานผลได้ทันตามระยะเวลา ที่กำหนดเท่ากับร้อยละ 71 – 86 ซึ่งต่ำกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้คือร้อยละ 90 เมื่อสำรวจสภาพปัญหาโดยใช้ แผนผังกระบวนการเชิงเส้นตรงแล้วบันทึกเป็ นผังการไหลของกิจกรรมตามหน้าที่และเวลา พบว่า ก่อนการปรับปรุงห้องปฏิบัติการฯ ใช้เวลาตั้งแต่การรับตัวอย่างจนถึงการส่งมอบรายงานผลการตรวจ รวม 122.8 นาที โดยไม่นับระยะเวลารอคอย ซึ่งจากการระดมสมองเพื่อวิเคราะห์หาสาเหตุโดยใช้ แผนภูมิก้างปลาและแผนภูมิพาเรโตแล้วพบว่าเกิดจาก 3 ปัจจัยหลัก ได้แก่ 1) เครื่องมือและอุปกรณ์ 2) วิธีการปฏิบัติงาน และ 3) ความรู้ความเชี่ยวชาญของผู้ปฏิบัติการ โดยสาเหตุดังกล่าวทำให้เกิดการ ทำซ้ำถึง 186 ครั้งในระยะเวลา 3 เดือน หลังการปรับปรุงโดย 1) เปลี่ยนเครื่องมือการเตรียมชิ้นเนื้อเป็น แบบอัตโนมัติ และเพิ่มเครื่องฝังชิ้นเนื้อ 2) เปลี่ยนวิธีการย้อมสไลด์ด้วยมือเป็นการย้อมด้วยเครื่องย้อม สไลด์อัตโนมัติ และ 3) การจัดฝึกอบรมพนักงานเพิ่มเติม พบว่าสามารถลดระยะเวลาการปฏิบัติงาน เหลือ 110.98 นาที และสามารถลดการทำซ้ำได้ 96 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 52 และทำให้อัตราการรายงาน ผลได้ตามระยะเวลาที่กำหนดเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 94.6 ซึ่งบรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ | en_US |
Appears in Collections: | BA: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
601532160 ศศิธร ประพฤตินอก.pdf | 3.58 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.