Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73576
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจุฑามาศ โชติบาง-
dc.contributor.advisorพิมพาภรณ์ กลั่นกลิ่น-
dc.contributor.authorเยาวรัตน์ สุภาษีen_US
dc.date.accessioned2022-07-08T10:16:58Z-
dc.date.available2022-07-08T10:16:58Z-
dc.date.issued2021-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73576-
dc.description.abstractPreterm infants are not fully developed and have incomplete function which can lead to respiratory distress syndrome These infants require special care in the Neonatal Intensive Unit and are separated from their mothers for a period time. This separation prevents mothers from learning about their infant's behavior resulting in low confidence to provide care for their infants. Preterm infants hospitalized in the Neonatal Intensive Unit, often results in stress. These children need kangaroo care to promote interaction between mothers and preterm infants. This quasi-experimental research study aimed to compare oxygen saturation and heart rate of preterm infants between a control group receiving routine nursing care and an experimental group receiving the routine nursing care along with an empowerment program. The study compared oxygen saturation and heart rate of preterm infants between the two groups. Oxygen saturation and heart rate data was also collected for the experimental group before, during, and after kangaroo care. The study sample consisted of 30 mothers with preterm infants admitted to Neonatal Intensive Unit from January 2020 to October 2020. Fifteen mother-infant pairs were assigned to the control group and the other 15 were assigned to the experimental group. The research instrument included the plan for the kangaroo care empowerment program on Physiological Functions of Preterm Infants with Respiratory Distress Syndrome and instruments used for data collection consisted of the demographic data form and the physiological functions of preterm infants. The data were analyzed using descriptive statistics, Chi-square test, Fisher's exact test, repeated one-way ANOVA and Independent t-test. The results were as follows: 1. There was no significant different in preterm infant heart rate between the experimental group and the control group. However, infant oxygen saturation was significantly higher in the experimental group than in the control group (p< .05). 2. There was no significant difference in heart rate before, during, and after kangaroo care for preterm infants in the kangaroo care empowerment program. Nevertheless, the difference in infant oxygen saturation was significant (p< .05). The results of this study can guide the pediatric nurses to empower mothers of preterm infants with respiratory distress syndrome in order to perform the kangaroo care appropriately.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลของโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจในการดูแลแบบแกงการูของมารดาต่อการทำหน้าที่ทางสรีรวิทยาของทารกเกิดก่อนกำหนดที่มีภาวะหายใจลำบากen_US
dc.title.alternativeEffect of the maternal kangaroo care empowerment program on physiological functions of preterm infants with respiratory distress syndromeen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashทารกคลอดก่อนกำหนด-
thailis.controlvocab.thashทารกคลอดก่อนกำหนด -- การดูแลรักษาในโรงพยาบาล-
thailis.controlvocab.thashมารดาและบุตร-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractทารกเกิดก่อนกำหนดมีความไม่สมบูรณ์ของร่างกายและการทำงานของระบบต่าง ๆ ยังไม่ สามารถทำหน้าที่ได้อย่างเต็มที่ ทำให้มีภาวะหายใจลำบากในช่วงแรกเกิด จึงจำเป็นต้องรับการรักษา ในหอสู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด ดังนั้นทารกจึงถูกแยกจากมารดาทันทีหลังเกิด มารดาขาคโอกาสในการเรียนรู้พฤติกรรมของบุตร ทำให้มารดาไม่มั่นใจในการเลี้ยงดูบุตร ส่วนทารกต้องรับการรักษาในหอผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิดทำให้เกิดภาวะเครียด จึงต้องการการดูแลแบบแกงการูที่ช่วยส่งเสริมปฏิสัมพันธ์ระหว่างมารดาและทารก การศึกษาวิจัยแบบกึ่งทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดและอัตราการเต้นของหัวใจทารกเกิดก่อนกำหนดระหว่างกลุ่มควบคุมที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ และกลุ่มทคลองที่ได้รับโปรแกรมเสริมสร้างพลังอำนาจในการดูแลแบบแกงการู และเปรียบเทียบความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดและอัตราการเต้นของหัวใจทารกเกิดก่อนกำหนด ก่อน ขณะ และหลังในกลุ่มทดลองที่มารดาได้รับโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจในการดูแลแบบแกงการู กลุ่มตัวอย่างเป็นมารดาและทารกเกิดก่อนกำหนดจำนวน 30 ราย ที่รับการรักษาในหอผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด ช่วงเดือน กุมภาพันธ์ ถึง ตุลาคม พ.ศ.2563 เลือกกลุ่มตัวอย่างตามคุณสมบัติที่กำหนด แบ่งเป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง กลุ่มละ 15 ราย เครื่องมือที่ใช้ดำเนินการวิจัย คือโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจในการดูแลแบบแกงการูของมารดาต่อการทำหน้าที่ทางสรีรวิทยาของทารกเกิดก่อนกำหนดที่มีภาวะหายใจลำบาก และเครื่องมือที่ใช้รวบรวมข้อมูล คือ แบบบันทึกข้อมูลทั่วไป และแบบบันทึกการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของทารกเกิดก่อนกำหนด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา การทดสอบไคสแควร์ การทดสอบฟิชเชอร์เอ็กแซค การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวชนิดมีการวัดซ้ำ และสถิติทดสอบค่าที ผลการวิจัพบว่า 1. ทารกเกิดก่อนกำหนดมีอัตราการเต้นของหัวใจระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมไม่แตกต่างกัน อย่างไรก็ตามความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดของทารกกลุ่มทดลองอยู่ในระดับคงที่มากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P< .05) 2. ทารกเกิดก่อนกำหนดกลุ่มที่มารดาได้รับโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจในการดูแลแบบแกงการูมีอัตราการเต้นของหัวใจไม่แตกต่างกันทั้ง ก่อน ขณะ และหลังการให้การดูแลแบบแกงการู ส่วนค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) ผลการวิจัยครั้งนี้สามารถใช้เป็นแนวทางการพยาบาลทารกเกิดก่อนกำหนด ในการเสริมสร้างพลังอำนาจแก่มารดาที่มีบุตรเกิดก่อนกำหนดที่มีภาวะหายใจลำบาก เพื่อให้ได้รับการดูแลแบบแกงการูอย่างเหมาะสมen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
601231031 เยาวรัตน์ สุภาษี.pdf1.22 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.