Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73565
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เกรียงไกร อรุโณทยานันท์ | - |
dc.contributor.author | นเรศ อินทรกำแหง ณ ราชสีมา | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-07-08T09:43:58Z | - |
dc.date.available | 2022-07-08T09:43:58Z | - |
dc.date.issued | 2021-03 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73565 | - |
dc.description.abstract | Under the changing of aging population structure to aging society in accordance with the Universal Health Coverage (UHC) system, Thailand encountered with the critical problems of rapidly growing number of patients and health services including the congestion and logistics management problems in the hospital in which it affected the healthcare service levels of hospitals. The purpose of this study was to analyze the hospital logistical problems focusing on mobility in the use of passenger elevators in a hospital building by using a developed demand simulation model based on survey data from the 1 5 -storey Sriphat Building located in Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital, Chiang Mai province. Data were gathered from personal structured interviewing of passengers using 6 elevators. They were patients, visitors, and hospital personnel. They were asked the purposes in the use of services of department/floor from the origin to the destination and the existence of users as well. The analysis of elevator traffic data showed the number of users and pattern of mobility in each time periods were peak at 9:00 to 10:00 and the most users used the elevators for lifting up with mobility of 1,349 times during the time period. These data were used for developing a traffic simulation model and indicated that the independent variables affected the traffic were the number of inclusive passengers and the rush of working days whereas the inclusive passengers and the use of wheel carriers affected on holidays. The variables affected on the attraction of trafficking were the number of inclusive passengers and rush of working days whereas the inclusive passengers affected on holidays. The results of model developing of traffic distribution indicated that the friction factor had a correlation with moving time in which it illustrated the distribution pattern of traffic distribution to the destined floor in a plot table from the origin to destination. This analysis was be able to use in the designing of simulation model of elevator using situations for improving the services of elevators in order to reduce waiting time in cueing lines and load of elevators. The use of simulation model via ARENA program found that the policy of classifying the elevators by the height was the best policy. Even though the services were reduced from 1,220 to 1,166 times in which it was decreased 4.4 % but the time of queuing reduced from 128.0 seconds to 118.90 seconds in which it was decreased 7.20 % and reduced the work load of elevators from 96.40 % to 94.32% | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การวิเคราะห์อุปสงค์และประสิทธิภาพการให้บริการของลิฟต์โดยสารภายในอาคารศรีพัฒน์ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Analysis of elevator demand and service performance in Sriphat Building, Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | ลิฟต์ | - |
thailis.controlvocab.thash | โรงพยาบาล -- ความพอใจของผู้ใช้บริการ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ภายใต้การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรสู่สังคมผู้สูงอายุ กอปรกับระบบหลักประกัน สุขภาพถ้วนหน้า ประเทศไทยกำลังเผชิญวิกฤติปัญหาจากปริมาณผู้ป่วยและผู้ใช้บริการสุขภาพที่เพิ่ม สูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ทั้งปัญหาความแออัดภายในโรงพยาบาลและปัญหาการจัดการโลจิสติกส์ โรงพยาบาล จนส่งผลกระทบต่อระดับการให้บริการสุขภาพของโรงพยาบาล งานวิจัยนี้จึงมีเป้าหมาย เพื่อวิเคราะห์ปัญหาโลจิสติกส์โรงพยาบาล มุ่งเน้นการสัญจรภายในอาคารโรงพยาบาลด้วยลิฟต์ โดยสาร โดยได้พัฒนาแบบจำลองอุปสงค์ผู้โดยสาร อาศัยข้อมูลสำรวจจากพื้นที่อาคารศรีพัฒน์ ขนาด 15 ชั้น ซึ่งตั้งอยู่ภายในโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ได้แก่ ข้อมูลสัมภาษณ์ ผู้ใช้บริการลิฟต์จำนวน 6 ตัว ทั้งผู้ป่วย ผู้มาเยี่ยม และบุคลากรทางการแพทย์ โดยสอบถาม วัตถุประสงค์การใช้บริการ แผนก/ชั้นเริ่มต้นและปลายทาง และคุณลักษณะผู้ใช้บริการ ทำให้ทราบถึง ปริมาณผู้ใช้บริการและรูปแบบการจราจรของลิฟต์โดยสารแต่ละช่วงเวลา ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการจราจรของลิฟต์พบว่าช่วงเวลาที่มีการจราจรมากที่สุดคือ ช่วงเวลา 09:00 น.- 10:00 น. มีลักษณะการจราจรในทิศขาขึ้นมากที่สุดโดยชั่วโมงดังกล่าวมีการเดินทางมากถึง 1,349 เที่ยว และข้อมูลผลการวิเคราะห์การสอบถามมาสร้างแบบจำลองการเกิดการเดินทาง พบว่า ตัว แปรอิสระที่มีผลต่อการเกิดการเดินทางคือ จำนวนคนร่วมเดินทาง และความเร่งด่วนในวันทำงาน ขณะที่จำนวนคนร่วมเดินทางและการใช้รถล้อเข็นมีผลต่อการเกิดการเดินทางในวันหยุด ตัวแปรที่มี อิทธิผลต่อการดึงดูดการเดินทางในวันทำงานคือ ความเร่งด่วนในการเดินทาง และจำนวนคนร่วม เดินทางในวันหยุด ผลการสร้างแบบจำลองการกระจายการเดินทางพบว่า Friction Factor มี ความสัมพันธ์กับเวลาในการเดินทางแต่ละคู่โซนและทราบถึงการกระจายตัวของปริมาณจราจรไปยังแต่ละชั้นแสดงในรูปแบบของตารางจุดต้นทาง-ปลายทาง ผลการวิเคราะห์ดังกล่าวสามารถนำไปใช้ในสร้างแบบจำลองออกมาเป็นสถานการณ์การใช้ ลิฟต์เพื่อปรับปรุงคุณภาพการให้บริการลิฟต์และเพื่อลดระยะเวลารอในแถวคอย พร้อมทั้งบรรเทาการ ทำงานของลิฟต์ ใช้การจำลองสถานการณ์ผ่านโปรแกรมอารีนา พบว่านโยบายการจัดแบ่งลิฟต์ตาม ระดับความสูงเป็นนโยบายที่ดีที่สุดแม้ว่าสามารถรองรับการใช้บริการได้น้อยลงจาก 1,220 เที่ยวเป็น 1,166 เที่ยว (ลดลง4.4%) แต่สามารถทำให้ระยะเวลารอในแถวคอยเฉลี่ยลดลงจาก 128.10 วินาที เป็น 118.90 วินาที (ลดลง7.2%) บรรเทาทำงานของลิฟต์จากร้อยละ 96.4 เป็น 94.32 (ลดลง1.78%) | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
610631010 นเรศ อินทรกำแหง ณ ราชสีมา.pdf | 11.61 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.