Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73553
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุกรี เกสรเกศรา-
dc.contributor.authorสุฑามาศ ราชวังเมืองen_US
dc.date.accessioned2022-07-07T10:23:04Z-
dc.date.available2022-07-07T10:23:04Z-
dc.date.issued2021-01-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73553-
dc.description.abstractThis is an independent study on the conservation and reproduction of traditional shadow puppetry in Ban Khuan Maphrao, Mueang District, Phatthalung Province. This is study aims to research the history and format of shadow puppetry in Southern Thailand, as well as the community of Ban Khuan Maphrao and the culture and processes related to shadow puppetry, including the problems affecting the art form in Ban Khuan Maphrao, Mueang District, Phatthalung Province. Studying field documents and conducting interviews and non-participatory observation were used as methods to analyze and synthesize information to find suitable ways to manage conservation and reproduction of the traditional shadow puppetry art of Ban Khuan Maphrao, Mueang District, Phatthalung Province, in order to sustain the cultural form. The management guidelines were developed in accordance with the following concepts and theories: 1) management of cultural resources, 2) conservation of cultural heritage, 3) public participation. This independent study used these ideas and theories as applicable guidelines for finding appropriate forms and processes for the conservation and reproduction of traditional shadow puppetry in Ban Khuan Maphrao, Mueang District, Phatthalung Province. The results show that shadow puppetry has been an important and unique form of recreation for the people of Southern Thailand since ancient times. The unique art form comes from the creative combination of ancient Malaysian culture and local Southern Thai customs that has been passed down through generations of local people until the present. The art form was first enjoyed by the people of Ban Khuan Maphrao, Mueang District, Phatthalung Province, and has since become very popular with people in the community. Through shadow puppetry, local people can witness the mastery of the artist and the beauty of the figures projected onto the fabric screen caused by the shadow of the carved shapes. In this way, it is clear that shapes are very important to the art form, making the artist a very important aspect of the shadow puppetry. Today, however, the important of the puppeteer has diminished as the situation has changed and technology has impacted the lives of people in the community, which could result in shadow puppetry disappearing all together. Therefore, it is important to promote the conservation and reproduction of traditional shadow puppetry by providing the community with knowledge about effective management processes and organizing a learning center in order to educate young people and help them understand the value of the traditional art form and how to maintain traditional shadow puppetry within the community.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการอนุรักษ์และสืบสานen_US
dc.subjectการแกะหนังตะลุงen_US
dc.subjectรูปหนังตะลุงen_US
dc.subjectConservation and Continuationen_US
dc.subjectNang Talungen_US
dc.subjectCarving, shadow puppetryen_US
dc.titleการอนุรักษ์และสืบสานการแกะหนังตะลุง บ้านควนมะพร้าว อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุงen_US
dc.title.alternativeConservation and continuation of Nang Talung Carving, Ban Khuan Maphrao, Mueang District, Phatthalung Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashหนังตะลุง -- เมือง (พัทลุง)-
thailis.controlvocab.thashหนังตะลุง -- ไทย-
thailis.controlvocab.thashชุมชนบ้านควนมะพร้าว-
thailis.controlvocab.thashพัทลุง -- ความเป็นอยู่และประเพณี-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาค้นคว้าแบบอิสระเรื่อง การอนุรักษ์และสืบสานการแกะหนังตะลุง บ้านควน มะพร้าว อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบริบทเกี่ยวกับประวัติความเป็นมา องค์ประกอบ และลักษณะรูปแบบของหนังตะลุงในภาคใต้ของประเทศไทย รวมถึงศึกษาชุมชนบ้าน ควนมะพร้าว สังคมและวัฒนธรรมและกระบวนการการแกะหนังตะลุง ตลอดจนสภาพปัญหาของการ แกะหนังตะลุงบ้านควนมะพร้าว อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง โดยทำการศึกษาจากภาคเอกสาร การลง ภาคสนามด้วยการสัมภาษณ์ และการสังเกตการณ์แบบไม่มีส่วนร่วม เพื่อนำมาทำการวิเคราะห์ และ สังเคราะห์ เพื่อหาแนวทางที่เหมาะสมในการจัดการอนุรักษ์และสืบสานการแกะหนังตะลุง บ้านควน มะพร้าว อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง ให้ดำรงคงอยู่อย่างยั่งยืนสืบไป ซึ่งแนวทางในการจัดการภายใต้ แนวคิดและทฤษฎี ดังนี้ 1) แนวคิดการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม 2) แนวคิดการอนุรักษ์มรดกทาง วัฒนธรรม 3) แนวคิดการมีส่วนร่วมของประชาชน โดยจากการศึกษาค้นคว้าอิสระในครั้งนี้ได้นา แนวคิดและทฤษฎีเหล่านี้มาเป็นแนวทางในการประยุกต์ใช้เพื่อหารูปแบบและแนวทางที่เหมาะสมใน การจัดการการอนุรักษ์และสืบสานการแกะหนังตะลุงบ้านควนมะพร้าว อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง ผลศึกษาพบว่า หนังตะลุงเป็นการละเล่นพื้นถิ่นที่สาคัญอย่างหนึ่งของชาวใต้ที่มีมาตั้งแต่ โบราณถือเป็นวัฒนธรรมที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว เนื่องจากมีการพัฒนาและผสมผสานวัฒนธรรมของ ประเทศมาเลเซีย และสร้างสรรค์เข้ากับวัฒนธรรมพื้นถิ่นของตนเองที่มีอยู่แต่เดิม จึงเกิดเป็ น วัฒนธรรมเฉพาะท้องถิ่นที่ทาสืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งหนังตะลุงได้นามาเล่นครั้งแรกที่ บ้านควนมะพร้าว อาเภอเมือง จังหวัดพัทลุง และได้รับความนิยมเป็นอย่างมากจากคนในชุมชน เนื่องจากหนังตะลุงนั้นได้แสดงให้เห็นถึงความอัจฉริยะของนายหนังและความสวยงามที่เกิดจากรูป หนังตะลุงที่ฉายอยู่บนจอผ้าที่เกิดจากเงาของรูปหนังตะลุง ดังนั้นถือได้ว่ารูปหนังตะลุงจึงมี ความสำคัญในการแสดงหนังตะลุงเป็นอย่างมาก จึงทำให้ช่างแกะหนังตะลุงค่อนข้างมีความสำคัญกับคณะหนังตะลุงเป็นอย่างมาก แต่ในปัจจุบันช่างแกะหนังตะลุงได้ลดน้อยลงตามสถานการณ์และ เทคโนโลยีของยุคสมัยที่มีผลกระทบต่อวิถีชีวิตคนในชุมชน ซึ่งอาจส่งผลทำให้หนังตะลุงหายไปจาก ชุมชน ดังนั้นการส่งเสริมให้มีการอนุรักษ์และสืบสานการแกะหนังตะลุง โดยการให้ความรู้เกี่ยวกับ กระบวนการจัดการที่ถูกต้องแก่ชุมชน และจัดโครงการศูนย์การเรียนรู้เพื่อให้ความรู้แก่เยาวชน ได้ตระหนักถึงคุณค่าของรูปหนังตะลุงและวิธีการรักษาให้รูปหนังตะลุงอยู่คู่ชุมชนต่อไปen_US
Appears in Collections:FINEARTS: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610332012 สุฑามาศ ราชวังเมือง.pdf4.65 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.