Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73550
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปนัดดา บุณยสาระนัย | - |
dc.contributor.author | พงศธร สุรินทร์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-07-07T10:04:27Z | - |
dc.date.available | 2022-07-07T10:04:27Z | - |
dc.date.issued | 2021-03 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73550 | - |
dc.description.abstract | This thesis title is ““Phaya Keaw Isan”: Pragmatic and Metaphor Perspectives” consists of two objectives. The first, this thesis aims to analysis pragmatic perspectives of Phaya Keaw Isan. The second, the study aims to analysis metaphor perspectives of Phaya Keaw Isan. The data collection of the thesis is done by the investigations of 528 dialogue of Phaya Keaw Isan between man and woman. The results of the study found that Phaya Keaw Isan consists of four topics. Firstly, co-operative principle in the Phaya Keaw Isan includes the violating of co-operative principle, and the observing of co-operative principle. Secondly, courting speech act in Phaya Keaw Isan consists of satirizing, humbling, complimenting, asserting, informing, expressing, questioning, answering questions, requesting, showing confidence, inviting, greeting, and saying goodbye. The third element is presupposition in Phaya Keaw Isan. These include patriarchy, seniority, materialism, behaviorism, agriculture, culture, and nature. The last element of Phaya Keaw Isan is metaphor. These include the metaphor of man, and woman. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ผญาเกี้ยวอีสาน: มุมมองทางวัจนปฏิบัติศาสตร์และอุปลักษณ์ | en_US |
dc.title.alternative | “Phaya Keaw Isan”: pragmatic and metaphor perspectives | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | ผญาเกี้ยวอีสาน | - |
thailis.controlvocab.thash | การเกี้ยวพาน | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | วิทยานิพนธ์เรื่อง “ผญาเกี้ยวอีสาน: มุมมองทางวัจนปฏิบัติศาสตร์และอุปลักษณ์” มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ ได้แก่ 1. เพื่อวิเคราะห์มุมมองทางวัจนปฏิบัติศาสตร์ในสถานการณ์ เกี้ยวพาราสีของผญาเกี้ยวอีสาน และ 2. เพื่อวิเคราะห์มุมมองทางอุปลักษณ์ในการเปรียบเทียบผู้ชายและผู้หญิงในผญาเกี้ยวอีสาน โดยเก็บข้อมูลและวิเคราะห์บทสนทนาโต้ตอบระหว่างผู้ชายและผู้หญิงในผญาเกี้ยวอีสานจานวน 528 บทสนทนา ผลการศึกษาพบว่า ผญาเกี้ยวอีสาน มีทั้งหมด 4 ประเด็น ได้แก่ 1. การใช้หลักความร่วมมือในการสนทนาในสถานการณ์เกี้ยวพาราสี ได้แก่ การละเมิดหลักความร่วมมือในการสนทนา และ การไม่ละเมิดหลักความร่วมมือในการสนทนา 2. การใช้วัจนกรรมการเกี้ยวพาราสีในสถานการณ์เกี้ยวพาราสี ได้แก่ การใช้ถ้อยคาแสดงการประชดประชันเสียดสี การใช้ถ้อยคาแสดงการชื่นชม การใช้ถ้อยคาแสดงการถ่อมตัว การใช้ถ้อยคาแสดงการยืนยัน การใช้ถ้อยคาแสดงการบอกกล่าว การใช้ถ้อยคาแสดงความรู้สึก การใช้ถ้อยคาแสดงการถาม การใช้ถ้อยคาแสดงการตอบคาถาม การใช้ถ้อยคาแสดงการขอร้อง การใช้ถ้อยคาแสดงความเชื่อมั่น การใช้ถ้อยคาแสดงการเชิญชวน การใช้ถ้อยคาแสดงการทักทาย และการใช้ถ้อยคาแสดงการร่าลา 3. การใช้มูลบทในสถานการณ์ เกี้ยวพาราสี ได้แก่ มูลบทที่เกี่ยวกับปิตาธิปไตย มูลบทที่เกี่ยวกับความอาวุโส มูลบทที่เกี่ยวกับ วัตถุนิยม มูลบทที่เกี่ยวกับการประพฤติปฏิบัติตน มูลบทที่เกี่ยวกับวิถีชีวิตและเกษตรกรรม มูลบทที่เกี่ยวกับประเพณี และมูลบทที่เกี่ยวกับธรรมชาติ และ 4. การใช้อุปลักษณ์ในการเปรียบเทียบผู้ชายและผู้หญิง ได้แก่ อุปลักษณ์ที่เกี่ยวกับผู้ชาย และอุปลักษณ์ที่เกี่ยวกับผู้หญิง | en_US |
Appears in Collections: | HUMAN: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
610131026 พงศธร สุรินทร์.pdf | 2.22 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.