Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73522
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorคมกฤต เล็กสกุล-
dc.contributor.authorธนานุช วันตาen_US
dc.date.accessioned2022-07-06T10:01:06Z-
dc.date.available2022-07-06T10:01:06Z-
dc.date.issued2020-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73522-
dc.description.abstractIn the present, the bull production industries demand specific sexual bulls due to different business productivity requirements. Therefore, sexual separation of sperm is very important to the industry and livestock. One of the most popular methods of sexual separation is monoclonal antibody enhancement. This method does not affect to the quality of sperm that is desired sex and also has specificity with high sexual separation accuracy. This research aimed to design and fabricate microfluidic system for sexual separation of bull sperm. Microfluidic system is one of scientific devices that was minimized to increase the efficiency of installation in conjunction with other devices and is convenient to carry, but still accuracy and speed in analyzing the results. The microchannel is designed by Layout Editor program and created by Soft Lithography technique. That is used to cooperate with microelectrode, it performs as aid of sexual separation and conductor to release the electric field into microchannel. In our experiment, separating particles included magnetic beads, magnetic beads on monoclonal antibodies and sperm with the function of magnetic beads on monoclonal antibodies by controlling microfluidic system fluid flow rate at 2 μl/min and releasing of 2.5 volts electric field. It was found that this microfluidic device can separate magnetic beads and magnetic beads on monoclonal antibodies of 100% and 95.42%, respectively. For sperm separation test, the results were shown that sperm Y with positive ions added moved to negative electrical fluid channel as our expectation which 53.61% success rate. By comparing with natural pregnancy, our proposed method is approximately 3.61% better.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการออกแบบและสร้างระบบของไหลจุลภาค สำหรับคัดแยกเพศของอสุจิโคen_US
dc.title.alternativeDesign and fabrication of microfluidic system for sexual separation of bull spermen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashโค -- การขยายพันธุ์-
thailis.controlvocab.thashอสุจิ-
thailis.controlvocab.thashของไหลจุลภาค-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractในปัจจุบัน อุตสาหกรรมการผลิตโคมีความต้องการลูกโคที่มีเพศแบบเฉพาะเจาะจง เนื่องจากความต้องการผลผลิตทางธุรกิจของโคแต่ละประเภทที่แตกต่างกัน จึงทำให้การคัดแยกเพศอสุจิของโคมีความสำคัญต่อวงการอุตสาหกรรมและปศุสัตว์เป็นอย่างมาก วิธีที่เป็นที่นิยมใช้ในปัจจุบันคือการใช้โมโนโคลนอลแอนติบอดีในการคัดแยกเพศของอสุจิ เนื่องจากการคัดแยกเพศด้วยวิธีนี้จะไม่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพของอสุจิเพศที่ต้องการ อีกทั้งยังมีความจำเพาะเจาะจงและให้ความแม่นยำในการคัดแยกเพศ งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบและสร้างระบบของไหลจุลภาคสำหรับการคัดแยกเพศของอสุจิโค โดยระบบของไหลจุลภาคเป็นหนึ่งในอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ที่ถูกย่อขนาดให้มีขนาดเล็กเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการติดตั้งร่วมกับอุปกรณ์อื่น สะดวกต่อการพกพา แต่ยังคงไว้ซึ่งความแม่นยำและรวดเร็วในการวิเคราะห์ผล ช่องทางไหลจุลภาคถูกออกแบบโดยโปรแกรมเลย์เอาท์เอดิเตอร์ และถูกสร้างโดยเทคนิคซอฟต์ลิโทกราฟี จะถูกใช้งานร่วมกับขั้วไฟฟ้าจุลภาคที่มีหน้าที่เป็นตัวช่วยในการคัดแยกเพศของอสุจิ และเป็นตัวนำไฟฟ้าเพื่อปล่อยสนามไฟฟ้าเข้าสู่ช่องทางไหลจุลภาค จากการทดสอบการคัดแยกอนุภาคต่างๆ ได้แก่ อนุภาคแม่เหล็ก อนุภาคแม่เหล็กบนโมโนโคลนอลแอนติบอดี และอสุจิร่วมกับการทำงานของโมโนโคลนอลแอนติบอดีและอนุภาคแม่เหล็ก โดยควบคุมอัตราการไหลของตัวอย่างที่ 2 ไมโครลิตรต่อนาที และปล่อยสนามไฟฟ้าขนาด 2.5 โวลต์ พบว่า อุปกรณ์ระบบของไหลจุลภาคนี้สามารถคัดแยกอนุภาคแม่เหล็กและอนุภาคแม่เหล็กบนโมโนโคลนอลแอนติบอดีได้ โดยได้ผลความสำเร็จอยู่ที่ 100% และ 95.42% ตามลำดับ และเมื่อนำมาทำการคัดแยกอสุจิจะพบว่าผลการทดลองเป็นไปในทิศทางเดียวกับทฤษฎี นั่นคือ ผลการคัดแยกอสุจิวายที่คาดว่ามีประจุบวกมากกว่าอสุจิเอ็กซ์มีแนวโน้มการไหลไปทางช่องการไหลที่เป็นประจุลบมากกว่าช่องการไหลที่เป็นประจุบวก โดยได้ผลความสำเร็จอยู่ที่ 53.61% มีสัดส่วนของอสุจิวายมากกว่าทางธรรมชาติโดยประมาณที่ 3.61%en_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600631055 ธนานุช วันตา.pdf3.33 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.