Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73498
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณัฐา โพธาภรณ์-
dc.contributor.advisorวีณัน บัณฑิตย์-
dc.contributor.authorอรรถพร จันทร์ดีen_US
dc.date.accessioned2022-07-04T10:20:38Z-
dc.date.available2022-07-04T10:20:38Z-
dc.date.issued2021-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73498-
dc.description.abstractDendrobium peguanum Lindl. is a small orchid that distributes in India, Nepal, Myanmar, and Thailand. This research aimed to use tissue culture technique with some plant growth regulators for in vitro propagation and flowering. After pollination, seed pods of Den. peguanum Lindl. Were harvested at 6, 8, 10 and 12 weeks. Seed viability was evaluated by lacto-propionic orcein staining, and then seeds were cultured on Murashige and Skoog medium (MS) without plant growth regulator. It was found that seeds from 6-week-old seed pods could not germinate while those at 10-week-old could germinate well. After that, seedlings were subcultured on ½ MS medium containing some PRGs i.e. α-naphthalene acetic acid (NAA), 6-benzylaminopurine (BA), kinetin and coconut water. It was found that plants grown on media with NAA 0.5 and 1.0 ppm at 120 days gave better growth in terms of height than those of other treatments whereas number of shoots per plant and number of leaves were not significantly different. Plants were subcultured on a new ½ MS medium containing some PGRs for in vitro flowering induction. It was found that plants on media with BA 1.0, 1.5 and 2.0 ppm could flower but plants on other PGRs had no flower.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการชักนำการออกดอกของกล้วยไม้เอื้องนางลมในหลอดทดลองen_US
dc.title.alternativeIn vitro flowering induction of dendrobium peguanumen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashการเพาะเลี้ยงกล้วยไม้-
thailis.controlvocab.thashกล้วยไม้ -- การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ-
thailis.controlvocab.thashกล้วยไม้ -- การขยายพันธุ์-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractกล้วยไม้เอื้องนางลม (Dendrobium peguamun Lindl.) เป็นกล้วยไม้ขนาดเล็ก มีการกระจายพันธุ์ที่ประเทศอินเดีย เนปาล พม่า และไทย โดยงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อร่วมกับสารควบคุมการเจริญเดิบโตบางชนิดมาขยายพันธุ์และชักนำให้กล้วยไม้เอื้องนางลมออกดอกในสภาพปลอดเชื้อ โดยผสมเกสรกล้วยไม้เอื้องนางลม นำเมล็ดจากฝักที่มีอายุ 6, 8, 10 และ12 สัปดาห์ มาย้อมด้วยสี lacto-propionic orcein เพื่อตรวจสอบความมีชีวิตของเมล็ด นำเมล็ดมาเพาะบนอาหารสูตร MS ที่ไม่เติมสารควบคุมการเจริญเติบโต พบว่า ฝักที่มีอายุ 6 สัปดาห์ไม่มีการงอกของมล็ด ส่วนฝักที่มีอายุ 10 สัปดาห์มีเปอร์เซ็นต์การงอกของเมล็ดที่สูงที่สุด จากนั้นย้ายต้นกล้วยไม้เอื้องนางลมลงบนอาหารสูตร ½ MS ที่มีการเดิมสารควบคุมการเจริญเติบโต ได้แก่ NAA BA kinein และน้ำมะพร้าว พบว่า เมื่อเพาะเลี้ยงกลัวยไม้เอื้องนางลมบนอาหาร ที่เติม NAA 0.5 และ 1.0 ppm เป็นเวลา 120 วัน กล้วยไม้เอื้องนางลมมีความสูงของลำถูกกล้วยที่มากที่สุด ในขณะที่ จำนวนยอด และจำนวนใบไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ และเมื่อย้ายต้นกล้วยไม้เอื้องนางลมลงบนอาหารสูตร ½ MS ที่เดิมสารควบคุมการเจริญติบโตที่แตกต่างกัน พบว่า อาหารที่เดิม BA ที่ความเข้มข้น 10, 1.5 และ 2.0 ppm สามารถกระตุ้นให้กล้วยไม้เอื้องนางลมออกดอกได้ ส่วนสารควบคุมการเจริญเติบโตอื่น ไม่สามารถกระตุ้นให้ออกดอกได้en_US
Appears in Collections:AGRI: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590831020 อรรถพร จันทร์ดี.pdf3.69 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.