Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73497
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชูโชค อายุพงศ์-
dc.contributor.authorเพียงใจ เลาหเจริญยศen_US
dc.date.accessioned2022-07-04T10:06:03Z-
dc.date.available2022-07-04T10:06:03Z-
dc.date.issued2021-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73497-
dc.description.abstractBuilding materials are one of the most important components in construction work. And in each construction, material wastage always occurs. Whether material handling construction work or collecting material piles, the wastage of these materials affects the cost of construction work. So when we estimate and cost construction works, the material loss' quantity will be added to the amount of work; obtained from the removal according to the drawings. The increasing quantity will affect the construction cost of the project. If there is an excess of material loss, the construction cost will increase, which may result in price competition in the auction. Or if the allowance for the material loss is too little inconsistent for the actual quantity used, it may result in additional costs of purchasing materials from the set cost. That results in reduced profit or loss. This research collected data from the BOQ (Bill of Quantities) and compared it with the resulting material usage in building construction work of Chiangmai Rimdoi Public Company Limited. The research aims to find the percentage of material wastage, suitable for each type of material and use it as a standard for calculating construction costs for other projects. It was found that the percentage of material loss exceeded the percentage of loss that the materials used by the company in the cost calculation to estimate the price; which is generally in the range of 10% -15% of the quantity calculated from the drawing. And from finding the percentage of loss, it is found that some materials had an extremely high percentage of losses, such as adhesives, grout, lightweight masonry mortar, and Mon-masonry mortar, which resulted in higher construction costs. It may be necessary to look at the cause of a large amount of material waste if it can control the loss that occurs or not.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการวิเคราะห์ร้อยละการสูญเสียวัสดุงานสถาปัตยกรรมของโครงการก่อสร้างอาคารen_US
dc.title.alternativeAnalysis of percentage of architecture material waste of building construction projectsen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashวัสดุและอุปกรณ์ก่อสร้าง-
thailis.controlvocab.thashการก่อสร้าง-
thailis.controlvocab.thashอาคาร -- การออกแบบและการสร้าง-
thailis.controlvocab.thashอุตสาหกรรมการก่อสร้าง -- ต้นทุน-
thailis.controlvocab.thashการออกแบบสถาปัตยกรรม-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวัสดุก่อสร้างเป็นส่วนประกอบหนึ่งที่มีความสำคัญในงานก่อสร้าง และในการก่อสร้างในแต่ละครั้งมักจะเกิดการสูญเสียเสียวัสดุเกิดขึ้นไม่ว่าจะเกิดมาการขนย้ายวัสดุ การทำงานก่อสร้างหรือการเก็บกองวัสดุ การสูญเสียวัสดุเหล่านี้ยอมมีผลกับต้นทุนงานการก่อสร้าง ดังนั้นในการประมาณราคาและคิดต้นทุนงานก่อสร้างมักจะเผื่อปริมาณสำหรับวัสดุสูญเสียที่จะเกิดขึ้นเพิ่มเข้าไปในปริมาณงานที่ได้มาจากการถอดตามแบบ ซึ่งปริมาณที่เพิ่มขึ้นจะมีผลต่อมูลค่าค่าก่อสร้างของโครงการ ถ้าเผื่อปริมาณวัสดุสูญเสียที่มากเกินก็จะทำให้มูลค่างานก่อสร้างเพิ่มสูงขึ้นซึ่งอาจจะมีผลในการแข่งขันราคาในการประมูลงาน หรือถ้าเผื่อปริมาณวัสดุสูญเสียที่น้อยเกินไป ไม่สอดคล้องกับปริมาณที่ใช้จริงก็อาจมีผลทำให้มีค่าใช้จ่ายจากการสั่งซื้อวัสดุเพิ่มขึ้นจากดันทุนที่ตั้งไว้ทำให้มีกำไรลดลงหรือขาดทุนได้ การวิจัยครั้งนี้ได้เก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสารละเอียดปริมาณงาน (BOQ: Bill of Quantities) และนำมาเปรียบเทียบกับการใช้วัสดุที่เกิดขึ้น ในงานก่อสร้างอาคารของ บริษัทเชียงใหม่ริมดอย จำกัด (มหาชน) เพื่อหาเปอร์เซ็นต์การเผื่อวัสดุสูญเสียที่เหมาะสมกับวัสดุแต่ประเภท และนำไปใช้เป็นมาตรฐานในการคำนวณหาต้นทุนงานก่อสร้างสำหรับโครงการอื่นๆ ต่อไป พบว่าสัดส่วนร้อยละของการสูญเสียวัสดุเกินกว่าสัดส่วนร้อยละของการสูญเสียที่วัสดุที่ทางบริษัทใช้ในการคำนวณต้นทุนเพื่อประมาณราคา ซึ่งทั่วไปจะอยู่ในช่วง 10%-15% ของปริมาณที่คำนวณได้จากการถอดปริมาณจากแบบ และจากการหาสัดส่วนร้อยละการสูญเสียพบว่าวัสดุบางตัวมีปริมาณสัดส่วนการสูญเสียที่สูงมาก เช่น กาวยาแนวปูนฉาบอิฐมวลเบา และปูนถาบอิฐมอญ เป็นต้น ซึ่งจะมีผลทำให้ต้นทุนงานก่อสร้างสูงขึ้น อาจะต้องมองถึงสาเหตุที่ทำให้เกิดปริมาณการสูญเสียวัสดุที่มากว่าสามารถควบคุมการสูญเสียที่เกิดขึ้นได้หรือไม่en_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590632077 เพียงใจ เลาหเจริญยศ.pdf8.85 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.