Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73472
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปิยพรรณ กลั่นกลิ่น-
dc.contributor.authorภูษณิศา ศิรภัทร์ธาดาen_US
dc.date.accessioned2022-06-28T10:35:32Z-
dc.date.available2022-06-28T10:35:32Z-
dc.date.issued2020-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73472-
dc.description.abstractThis independent study aimed to investigate service marketing mix affecting consumer intention to take services at shopping malls in Chiang Mai Province. Questionnaires were used as the tool to collect data. Samples were identified to 300 consumers of one of four shopping malls in Chiang Mai i.e. Central Plaza Chiang Mai Airport; Promenada Resort Mall; Central Festival Chiang Mai; and Maya Lifestyle Shopping Center. Data were analyzed by the descriptive statsitics: percentage, frequency, and mean; the inferential statistics: multiple regression analysis. Results found that majority of the respondents were female in the age 21-30 years old and had educational background in bachelor’s degree. They earned monthly income at the average amount of 10,001-20,000 Baht. They took service at the shopping mall because it was located close to their residence or workplace. They were employee of private company, self-employed, and student. Frequency of visiting the shoppoing mall was 2-3 times a month. They mostly went there for having meals, shopping, and watching movies. Service marketing mix that affected consumer intention to take services at the shopping malls in Chiang Mai province. In overall view should give priority to service marketing mix factors namely place, people, and physical evidence. With the multiple regression equations as follows The overall intention to take services at the shopping malls in Chiang Mai = 0.848 + (0.534) place + (0.162) people + (0.184) physical evidence. (R2=0.386) The sub-factors of service marketing mix that affected customer intention to take services as follows: 1. Place: The convenience of walking and shopping for products and services (B = 0.237), arrangement of areas (Zone) for easy selection of shops and products (B = 0.174), the location of the shopping center is convenient transportation (B = 0.174) and decoration of shops within a shopping center is easy to choose to buy products and services (B = 0.143). 2. Physical evidence: Sufficiency of facilities in shopping centers such as restrooms, parking lots, ATMs, elevators, rest areas (B = 0.332), the atmosphere in the shopping center is airy with white tones (B = 0.141). , Family facilities such as children's restroom, stroller, special train (Happy Train) (B = 0.075) 3. People: personnel and store employees inside the shopping center there is good manners and always ready to provide service (B = 0.181), the sufficiency of cleaning and security security guard in the shopping center (B = 0.138) and the speed of service of personnel and store employees inside the shopping center (B = 0.143)en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleส่วนประสมการตลาดบริการที่มีผลต่อความตั้งใจของผู้บริโภค ในการใช้บริการศูนย์การค้าในจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeService Marketing Mix Affecting Consumers' Intention to Use Shopping Center Services in Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashความพอใจของผู้บริโภค -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashศูนย์การค้า-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาส่วนประสมการตลาดบริการของผู้บริโภค ที่มีผลต่อความตั้งใจใช้บริการศูนย์การค้าในจังหวัดเชียงใหม่ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้บริโภคที่เคยใช้บริการศูนย์การค้าแห่งใดแห่งหนึ่งจากทั้งหมด 4 แห่ง ในจังหวัดเชียงใหม่ ได้แก่ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา เชียงใหม่ แอร์พอร์ต ศูนย์การค้าพรอมเมนาดา รีสอร์ท มอลล์ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวัล เชียงใหม่ และศูนย์การค้าเมญ่า ไลฟ์สไตล์ ช้อปปิ้ง เซ็นเตอร์ จำนวน 300 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา ได้แก่ ร้อยละ ความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน การวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 21-30 ปี การศึกษาระดับปริญาตรี มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,001-20,000 บาท เลือกใช้บริการศูนย์การค้าเนื่องจากใกล้บ้านหรือใกล้ที่ทำงาน อาชีพพนักงานบริษัทเอกชน ธุรกิจส่วนตัวหรืออาชีพอิสระ และนักเรียนหรือนักศึกษา ความถี่ในการใช้บริการ คือ เดือนละ 2-3 ครั้ง ส่วนใหญ่มารับประทานอาหาร ซื้อสินค้า และชมภาพยนตร์ ส่วนประสมการตลาดบริการมีผลต่อความตั้งใจของผู้บริโภคในการใช้บริการศูนย์การค้าในจังหวัดเชียงใหม่ในภาพรวม คือ ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย, ด้านบุคลากร และด้านสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ โดยได้สมการการถดถอยพหุคูณ ดังนี้ ความตั้งใจในการใช้บริการศูนย์การค้าในจังหวัดเชียงใหม่ = 0.848 + (0.5340.534) ช่องทาง การจัดจำหน่าย + (0.1620.162) บุคลากร + (0.1840.184) สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ (R 2 =0.386 0.386) โดยปัจจัยย่อยของส่วนประสมการตลาดบริการที่มีผลต่อความตั้งใจของผู้ใช้บริการ ดังนี้ 1. ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ได้แก่ ความสะดวกสบายในการเดินเลือกซื้อสินค้าและใช้บริการ (B = 0.237), การจัดบริเวณ (Zone) ให้เลือกหาร้านค้าและสินค้าได้ง่าย (B = 0.174), ตำแหน่งที่ตั้งของศูนย์การค้าสะดวกต่อการเดินทาง (B = 0.174) และการตกแต่งร้านค้าต่างๆ ภายในศูนย์การค้าง่ายต่อการเลือกซื้อสินค้าและบริการ (B = 0.143) 2. ด้านสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ได้แก่ ความเพียงพอของสิ่งอำนวยความสะดวก ในศูนย์การค้า เช่น ห้องน้ำ ที่จอดรถ ตู้เอทีเอ็ม ลิฟต์ พื้นที่นั่งพักผ่อน (B = 0.332), บรรยากาศภายในศูนย์การค้ามีความโปร่งสบายตาด้วยโทนสีขาว (B = 0.141), สิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับครอบครัว เช่น ห้องน้ำเด็ก รถเข็นเด็ก รถไฟฟ้าขบวนพิเศษ (Happy Train) (B = 0.075) 3. ด้านบุคลากร ได้แก่ บุคลากรและพนักงานร้านค้าต่างๆ ภายในศูนย์การค้า มีกิริยามารยาทที่ดีและมีความพร้อมที่จะให้บริการอยู่เสมอ (B = 0.181), ความเพียงพอของพนักงานทำความสะอาดและเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยในศูนย์การค้า (B = 0.138) และความรวดเร็ว ในการให้บริการของบุคลากรและพนักงานร้านค้าต่างๆ ภายในศูนย์การค้า (B = 0.143)en_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
591532162 ภูษณิศา ศิรภัทร์ธาดา.pdf2.37 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.